Publication: Detection of CEBPA Mutation Gene in Acute Myeloid Leukemia Patients
Issued Date
2017
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Pathology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 40, No. 1 (Jan-Mar 2017), 15-24
Suggested Citation
Takol Chareonsirisuthigul, Sutada Magmuang, Suporn Chuncharunee, Budsaba Rerkamnuaychoke, ถกล เจริญศิริสุทธิกุล, สุธาดา มากเมือง, สุภร จันท์จารุณี, บุษบา ฤกษ์อำนวยโชค Detection of CEBPA Mutation Gene in Acute Myeloid Leukemia Patients. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 40, No. 1 (Jan-Mar 2017), 15-24. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79570
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Detection of CEBPA Mutation Gene in Acute Myeloid Leukemia Patients
Alternative Title(s)
การตรวจหาการกลายของยีน CEBPA ในผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดโลหิตขาวชนิดมัยอิลอยด์แบบเฉียบพลัน
Abstract
Background: The mutations of CCAAT/enhancer binding protein-alpha (CEBPA) gene are evaluated as favorable prognostic tools for acute myeloid leukemia (AML) patients. The gold standard method for detection of CEBPA gene mutations is direct sequencing. This method has some disadvantages, and CEBPA mutations can occur across the whole gene, and there should be a screening test before designating the type of mutation by direct sequencing.
Objective: This study was to evaluate the ability of denaturing high-performance liquid chromatography (DHPLC) for screening CEBPA mutations.
Method: The coding region of CEBPA gene in 114 AML patients and 40 normal controls were screened by DHPLC and confirmed by direct sequencing.
Results: Our results demonstrated that DHPLC is a useful screening test to detect CEBPA gene mutations in AML patients. Fifteen types of CEBPA gene mutations including insertion, duplication, deletion, and substitution were also detected by DHPLC.
Conclusion: A combination of DHPLC and direct sequencing is an appropriate approach for detecting CEBPA mutations.
บทนำ: การกลายของยีน CCAAT/enhancer binding protein-alpha (CEBPA) ในผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดโลหิตขาวชนิดมัยอิลอยด์แบบเฉียบพลันมีประโยชน์สำหรับการพยากรณ์โรคไปในแนวทางที่ดี วิธีมาตรฐานสำหรับตรวจหาการกลายของยีน CEBPA คือการหาลำดับเบส แต่วิธีนี้มีข้อจำกัดหลายประการ อีกทั้งการกลายของยีน CEBPA สามารถเกิดได้ทุกตำแหน่งของยีน ดังนั้นควรมีการตรวจคัดกรองก่อนที่จะตรวจยืนยันและบ่งชี้ชนิดของการกลายด้วยวิธีการหาลำดับเบส วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินความสามารถของวิธีดีเอ็ชพีเอลซีในการตรวจคัดกรองสำหรับหาการกลายของยีน CEBPA วิธีการศึกษา: โดยทำการศึกษาการกลายของยีน CEBPA จากผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดโลหิตขาวชนิดมัยอิลอยด์แบบเฉียบพลันจำนวน 114 ตัวอย่าง และจากของคนปกติจำนวน 40 ตัวอย่าง ด้วยวิธีดีเอ็ชพีเอลซีควบคู่กับการหาลำดับเบส ผลการศึกษา: วิธีดีเอ็ชพีเอลซีมีประสิทธิภาพในการแยกตัวอย่างที่ผิดปกติออกจากตัวอย่างปกติ โดยที่วิธีดีเอ็ชพีเอลซียังสามารถตรวจจับรูปแบบการกลายของยีน CEBPA ได้ทั้ง 15 รูปแบบ ซึ่งประกอบด้วยการกลายแบบ insertion, duplication, deletion, and substitution สรุป: วิธีดีเอ็ชพีเอลซีเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการตรวจคัดกรองการกลายของยีน CEBPA ในผู้ป่วย AML และวิธีดีเอชพีเอลซีร่วมกับวิธีการหาลำดับเบสเป็นวิธีการที่เหมาะสมในการตรวจหาการกลายของยีน CEBPA
บทนำ: การกลายของยีน CCAAT/enhancer binding protein-alpha (CEBPA) ในผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดโลหิตขาวชนิดมัยอิลอยด์แบบเฉียบพลันมีประโยชน์สำหรับการพยากรณ์โรคไปในแนวทางที่ดี วิธีมาตรฐานสำหรับตรวจหาการกลายของยีน CEBPA คือการหาลำดับเบส แต่วิธีนี้มีข้อจำกัดหลายประการ อีกทั้งการกลายของยีน CEBPA สามารถเกิดได้ทุกตำแหน่งของยีน ดังนั้นควรมีการตรวจคัดกรองก่อนที่จะตรวจยืนยันและบ่งชี้ชนิดของการกลายด้วยวิธีการหาลำดับเบส วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินความสามารถของวิธีดีเอ็ชพีเอลซีในการตรวจคัดกรองสำหรับหาการกลายของยีน CEBPA วิธีการศึกษา: โดยทำการศึกษาการกลายของยีน CEBPA จากผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดโลหิตขาวชนิดมัยอิลอยด์แบบเฉียบพลันจำนวน 114 ตัวอย่าง และจากของคนปกติจำนวน 40 ตัวอย่าง ด้วยวิธีดีเอ็ชพีเอลซีควบคู่กับการหาลำดับเบส ผลการศึกษา: วิธีดีเอ็ชพีเอลซีมีประสิทธิภาพในการแยกตัวอย่างที่ผิดปกติออกจากตัวอย่างปกติ โดยที่วิธีดีเอ็ชพีเอลซียังสามารถตรวจจับรูปแบบการกลายของยีน CEBPA ได้ทั้ง 15 รูปแบบ ซึ่งประกอบด้วยการกลายแบบ insertion, duplication, deletion, and substitution สรุป: วิธีดีเอ็ชพีเอลซีเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการตรวจคัดกรองการกลายของยีน CEBPA ในผู้ป่วย AML และวิธีดีเอชพีเอลซีร่วมกับวิธีการหาลำดับเบสเป็นวิธีการที่เหมาะสมในการตรวจหาการกลายของยีน CEBPA