Publication: Evaluation of microbiological quality of herbal products in Thailand
Issued Date
2003-12
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Pharmacy Mahidol University
Bibliographic Citation
Thai Journal of Phytopharmacy. Vol.10, No.2 (2003), 37-47
Suggested Citation
Mullika T. Chomnawang, Puvapan Paojinda, Noparatana Narknopmanee, Lek Rungreang yingyod Evaluation of microbiological quality of herbal products in Thailand. Thai Journal of Phytopharmacy. Vol.10, No.2 (2003), 37-47. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/3248
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Evaluation of microbiological quality of herbal products in Thailand
Abstract
In the present study, non-registered herbal products marketing in Thailand were determined for
the presence of microbial and steroid contaminations. Microbial contents in herbal products were examined
as suggested in Thai Pharmacopoeia. The total of fifty-seven non-registered herbal products were
selected randomly from all over the country and tested for microbial contamination. Of which fifty
samples did not conform to the Thai Pharmacopoeia (TP) Standard due to the exceeded amount of total
aerobic bacteria (6 samples), yeasts and molds (10 samples), Escherichia coli (11 samples),
Staphylococcus aureus (45 samples), Salmonella spp. (12 samples) and Clostridium spp. (18 samples).
In addition, steroid contamination was also determined by using thin-layer chromatography (TLC).
Neither prednisolone nor dexamethasone was presented in the samples. The result showed that most of
non- registered herbal products in Thailand did not comply with the Thai Pharmacopoeia Standard. The
data indicated that Thai herbal products required an urgent and serious action in process improvement
to provide better quality for consumer health in order to be competitive in international markets.
การศึกษานี้ได้ทำการตรวจการปนเปื้อนจุลินทรีย์ และสารสเตียรอยด์ในผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ไม่ขึ้น ทะเบียนตำรับยาที่มีจำหน่ายในประเทศไทย โดยการตรวจสอบจุลินทรีย์ปนเปื้อนเป็นไปตามที่ระบุไว้ในเภสัช ตำรับของไทย จากผลิตภัณฑ์สมุนไพรจำนวน 57 ตัวอย่าง ซึ่งถูกสุ่มตัวอย่างมาจากทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ พบว่า ตัวอย่างที่มีปริมาณเชื้อเกินกำหนดมีจำนวน 50 ตัวอย่าง โดยมีแบคทีเรียที่ใช้อากาศเกินกำหนด 6 ตัวอย่าง ยีสต์และเชื้อรา 10 ตัวอย่าง แบคทีเรียชนิด เอสเชอริเชีย โคไล 11 ตัวอย่าง นอกจากนี้ยังมีสแตปฟิโลคอคคัส ออเรียส 45 ตัวอย่าง แซลโมเนลลา 12 ตัวอย่าง และมีคลอสตริเดียม 18 ตัวอย่าง นอกจากนี้ในการทดลองยังตรวจหาสารสเตียรอยด์โดยวิธีโครมาโตกราฟีแต่ไม่พบทั้งเพรดนิโซโลน และเดกซาเมทาโซนในทุกตัวอย่าง ผล การศึกษาพบว่า ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ไม่ขึ้นทะเบียนส่วนใหญ่ยังไม่ผ่านมาตรฐานตามเภสัชตำรับกำหนด ข้อมูล ดังกล่าวบ่งชี้ว่า ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรต้องให้ความสำคัญต่อกระบวนการผลิตเพื่อปรับปรุงคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์ อันจะส่งผลให้ผู้บริโภคได้บริโภคผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ปลอดภัย มีคุณภาพ และยังเพิ่มโอกาส สำคัญในการแข่งขันเชิงพาณิชย์ในตลาดโลกอีกด้วย
การศึกษานี้ได้ทำการตรวจการปนเปื้อนจุลินทรีย์ และสารสเตียรอยด์ในผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ไม่ขึ้น ทะเบียนตำรับยาที่มีจำหน่ายในประเทศไทย โดยการตรวจสอบจุลินทรีย์ปนเปื้อนเป็นไปตามที่ระบุไว้ในเภสัช ตำรับของไทย จากผลิตภัณฑ์สมุนไพรจำนวน 57 ตัวอย่าง ซึ่งถูกสุ่มตัวอย่างมาจากทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ พบว่า ตัวอย่างที่มีปริมาณเชื้อเกินกำหนดมีจำนวน 50 ตัวอย่าง โดยมีแบคทีเรียที่ใช้อากาศเกินกำหนด 6 ตัวอย่าง ยีสต์และเชื้อรา 10 ตัวอย่าง แบคทีเรียชนิด เอสเชอริเชีย โคไล 11 ตัวอย่าง นอกจากนี้ยังมีสแตปฟิโลคอคคัส ออเรียส 45 ตัวอย่าง แซลโมเนลลา 12 ตัวอย่าง และมีคลอสตริเดียม 18 ตัวอย่าง นอกจากนี้ในการทดลองยังตรวจหาสารสเตียรอยด์โดยวิธีโครมาโตกราฟีแต่ไม่พบทั้งเพรดนิโซโลน และเดกซาเมทาโซนในทุกตัวอย่าง ผล การศึกษาพบว่า ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ไม่ขึ้นทะเบียนส่วนใหญ่ยังไม่ผ่านมาตรฐานตามเภสัชตำรับกำหนด ข้อมูล ดังกล่าวบ่งชี้ว่า ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรต้องให้ความสำคัญต่อกระบวนการผลิตเพื่อปรับปรุงคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์ อันจะส่งผลให้ผู้บริโภคได้บริโภคผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ปลอดภัย มีคุณภาพ และยังเพิ่มโอกาส สำคัญในการแข่งขันเชิงพาณิชย์ในตลาดโลกอีกด้วย