Publication: บทบาทของผู้ดูแลเด็กกับการจัดระบบบริการภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
dc.contributor.author | เกรียงศักดิ์ ซื่อเลื่อม | en_US |
dc.contributor.author | ศิริกุล อิศรานุรักษ์ | en_US |
dc.contributor.author | ปราณี สุทธิสุคนธ์ | en_US |
dc.contributor.author | ดุษณี ดำมี | en_US |
dc.contributor.author | จิราพร ชมพิกุล | en_US |
dc.contributor.author | บังอร เทพเทียน | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน | en_US |
dc.date.accessioned | 2017-06-28T02:25:56Z | |
dc.date.available | 2017-06-28T02:25:56Z | |
dc.date.created | 2017-06-27 | |
dc.date.issued | 2551 | |
dc.description.abstract | การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาท ปัญหาความต้องการในการทำงานของผู้ดูแลเด็ก (ผดด.) และเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศพด.) ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ศึกษาในพื้นที่ 5 จังหวัด ได้แก่ แพร่ บุรีรัมย์ ชลบุรี สุพรรณบุรี และตรัง แต่ละจังหวัดศึกษา ศพด. จำนวน 6 แห่ง รวมทั้งสิ้น 30 แห่ง เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยสัมภาษณ์เชิงลึกและสนทนากลุ่มกับ ผดด. จำนวน 145 คน และนำข้อมูลมาวิเคราะห์เนื้อหา ประมวลผลประเด็นสำคัญ ผลการศึกษาพบว่า ผดด. มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการจัดประสบการณ์ให้เอื้อต่อการพัฒนา เด็กอย่างเต็มศักยภาพ ประมาณ 1 ใน 7 จบปริญญาตรี สาขาปฐมวัย สัดส่วน ผดด. ต่อเด็ก ในการศึกษาครั้งนี้ คือ 1 : 20 คน สาเหตุที่มาทำงานนี้ เพราะรักในอาชีพ เป็นคนพื้นที่ ทำให้เดิน ทางสะดวก ได้ทำประโยชน์ให้ชุมชนและทำบุญกับเด็ก นอกจากบทบาทหน้าที่ด้านการเรียนการสอน และดูแลเด็กแล้ว ผดด. หลายคนต้องทำงานธุรการ แม่ครัว ทำความสะอาดและดูแลสถานที่ด้วย ปัญหาที่พบ คือ ผดด. ขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องพัฒนาการเด็ก ขาดสื่อการเรียนการสอน ขาดงบ ประมาณ และไม่มีสถานที่เป็นเอกเทศ ความต้องการที่สำคัญของ ผดด. คือ การพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง มีขวัญกำลังใจและสวัสดิการมั่นคง ข้อเสนอแนะจากการศึกษานี้ คือ ผู้บริหาร อปท. ควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ตั้งแต่วัยเด็ก มีการติดตามนิเทศงาน ศพด. เป็นระยะ เพื่อนำข้อมูลไปวางแผนดำเนินงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ควรปรับสัดส่วน ผดด. กับเด็กให้เหมาะสม สร้างขวัญกำลังใจด้วยระบบสวัสดิการที่มั่นคง และสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ | en_US |
dc.description.abstract | The purpose of this study was to identify the role, problems and limitations of child care givers and to suggest the Local Government Organization to develop proper administration for Day Care Center. Thirty locations in 5 Provinces were chosen for data collection including 6 centers in Prae, Burirum, Chonburi, Suphanburi and Thrang. Focus groups of 145 persons were interviewed in depth. The data collected was analyzed and categorized into major issues. The study found that child caregivers have very important roles in creating experiences that will contribute to the development of the children attending the child development centers. One in 7 of caregivers hold a bachelor's degree in child development. The ratio of care givers to children was 1:20. The reasons they were doing this job were: loving the profession, closing home, serving the community and making merit through the children. In addition to their role as child caregivers, they also have additional jobs such as cooking and cleaning. Problems found in child care giver included: lacking of knowledge about child development, lacking of educational equipment, inadequate budget, inadequate facilities. Caregivers would particularly like to receive sustained personal development and secure benefits for their work. Recommendations from this study points out that the Local Government Organization for human capacity development should emphasis on early childhood development especially on effective planning and regular monitoring. The ratio of child caregivers to children should be adjusted and the support systems such as regular in training program and welfare system should also be provided. | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 6, ฉบับที่ 2 (2551), 39-48 | en_US |
dc.identifier.issn | 1905-1387 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2375 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล. | en_US |
dc.rights.holder | สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน. มหาวิทยาลัยมหิดล. | en_US |
dc.subject | ผู้ดูแลเด็ก | en_US |
dc.subject | Child Caregivers | en_US |
dc.subject | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก | en_US |
dc.subject | Day Care Center | en_US |
dc.subject | องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | en_US |
dc.subject | Local Government Organization | en_US |
dc.subject | ระบบบริการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก | en_US |
dc.subject | Services of Day Care Center | en_US |
dc.subject | Open Access article | en_US |
dc.subject | วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา | en_US |
dc.subject | Journal of Public Health and Development | en_US |
dc.title | บทบาทของผู้ดูแลเด็กกับการจัดระบบบริการภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | en_US |
dc.title.alternative | The Role Of Child Caregivers On Management Of Day Care Center Services Provided By Local Government Organization | en_US |
dc.type | Research Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication |