Publication:
Factors associated with resilient Thai students of international programs in Bangkok, Thailand

dc.contributor.authorSatoshi Inouraen_US
dc.contributor.authorPrapapun Chucharoenen_US
dc.contributor.authorBang-on Thepthienen_US
dc.contributor.authorซาโตชิ อิโนอุระen_US
dc.contributor.authorประภาพรรณ จูเจริญen_US
dc.contributor.authorบังอร เทพเทียนen_US
dc.contributor.otherMahidol University. ASEAN Institute for Health Developmenten_US
dc.date.accessioned2021-05-14T09:45:45Z
dc.date.available2021-05-14T09:45:45Z
dc.date.created2021-05-14
dc.date.issued2017
dc.description.abstractThis cross-sectional study was conducted to identify the percentage of students who had high level of resilience and examine factors associated with resilience among Thai students in international programs in Bangkok and suburb, Thailand. Data collection were conducted among Thai students aged 18 to 24 in three international programs in May 2017. A self-administered questionnaire employed was composed of demographic factors, Connor-Davidson Resilience Scale (CD-RISC) and Adverse childhood experiences (ACEs) questionnaire. A total of 379 questionnaires were used in data collection and for analysis. Chi-square tests were performed to identify the association between independence variables and resilience and multiple logistic regression was used to determine predictors of resilience. The result showed over half (53%) of respondents were in high level of resilience. The result of Chi-square tests showed that age and peer support were the factors significantly associated with resilience level (p-value<0.01). In logistic regression, age (Adj. OR= 2.53, 95%CI=1.52-4.20) sex (Adj. OR=1.67, 95%CI=1.07-2.61) and peer support (Adj. OR=2.70, 95%CI=1.66-4.41) were significant factors. In con -clusion, an individual who has low resilience could be difficult to deal with adversity or difficulties regardless of ACEs level, and it would be more essential to explore the protective factors that lead to positive adaptation in different contexts. The result also implied that resilience could have been nurtured as the times go by with close peer company in their lives. Especially among youths in the study, male had higher resilience than female. However, there are still unknown complex factors behind resilience and need to continue further investigation for complex factors under the process of their lien_US
dc.description.abstractการศึกษาแบบตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับความยืดหยุ่นได้ทางด้านจิตใจของนักศึกษาไทยที่กำลังศึกษาในหลักสูตรนานาชาติ ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล กลุ่มตัวอย่างมีอายุระหว่าง 18-24 ปี ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลช่วงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2560 ใช้แบบสอบถามโดยให้กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง แบบสอบถามประกอบด้วย ปัจจัยส่วนบุคคล แบบทดสอบความยืดหยุ่นได้ทางด้านจิตใจ Conner-Davidson Resilience Scale (CD-RISC) และ แบบสอบถามประสบการณ์ไม่พึงประสงค์ในวัยเด็ก ทั้งหมดจำนวน 379 ราย ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบไคกำลังสองเพื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและความยืดหยุ่นได้ทางด้านจิตใจ และการถดถอยลอจิสติกพหุคูณเพื่อศึกษาปัจจัยที่ทำนายความยืดหยุ่นได้ทางด้านจิตใจ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าร้อยละ 53 ของนักศึกษาไทยที่กำลังศึกษาในหลักสูตรนานาชาติมีความยืดหยุ่นได้ทางด้านจิตใจในระดับสูง และผลจากการวิเคราะห์ไคกำลังสองพบว่าอายุและแรงสนับสนุนจากเพื่อนมีความสัมพันธ์กับความยืดหยุ่นได้ทางด้านจิตใจอย่างมีนัยสำคัญที่ 0.01 การถดถอยลอจิสติกพหุคูณพบว่าปัจจัยด้านอายุและแรงสนับสนุนจากเพื่อน เป็นปัจจัยที่สัมพันธ์กับความยืดหยุ่นได้ทางด้านจิตใจ นักศึกษาที่มีอายุระหว่าง 21 -24 ปี จะมีความยืดหยุ่นได้ทางด้านจิตใจมากกว่านักศึกษาที่มีอายุระหว่าง 18 – 20 ปี 2.6 เท่า เพศชายมีความยืดหยุ่นได้ทางด้านจิตใจกว่าเพศหญิง 1.67 เท่า นักศึกษาที่มีแรงสนับสนุนจากเพื่อนจะมีความยืดหยุ่นได้ทางด้านจิตใจมากกว่านักศึกษาที่ไม่มีแรงสนับสนุนจากเพื่อน 2.7 เท่า ผลการศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าบุคคลที่มีระดับความยืดหยุ่นได้ทางด้านจิตใจระดับต่ำ จะมีความยากในการจัดการระดับของประสบการณ์ไม่พึงประสงค์ในวัยเด็ก ซึ่งจำเป็นต้องคำนึงถึงปัจจัยป้องกันจึงจะสามารถนำไปสู่พัฒนาการเชิงบวกในบริบทต่างๆ ยิ่งไปกว่านั้นยังพบว่าเมื่อมีอายุมากขึ้นจะมีความยืดหยุ่นได้ทางด้านจิตใจมากขึ้นทั้งนี้ต้องมีแรงสนับสนุนจากเพื่อนด้วย เพศชายจะมีความยืดหยุ่นได้ทางด้านจิตใจมากกว่าเพศหญิงแต่อย่างไรก็ตามยังมีปัจจัยที่ซับซ้อนอีกหลายปัจจัยที่อาจมีความสัมพันธ์กับความยืดหยุ่นได้ทางด้านจิตใจในชีวิตวัยรุ่น จึงควรมีการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อชีวิตวัยรุ่นให้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้นต่อไปen_US
dc.identifier.citationJournal of Public Health and Development. Vol. 15, No.2 (May-Aug 2017), 1-13en_US
dc.identifier.issn1905-1387
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62158
dc.language.isoengen_US
dc.rightsMahidol Universityen_US
dc.rights.holderASEAN Institute for Health Development Mahidol Universityen_US
dc.subjectResilienceen_US
dc.subjectAdversity Childhood Experiencesen_US
dc.subjectYouthen_US
dc.subjectวามยืดหยุ่นได้ทางด้านจิตใจen_US
dc.subjectประสบการณ์ไม่พึงประสงค์ในวัยเด็กen_US
dc.subjectวัยรุ่นen_US
dc.titleFactors associated with resilient Thai students of international programs in Bangkok, Thailanden_US
dc.title.alternativeปัจจัยที่สัมพันธ์กับความยืดหยุ่นได้ทางด้านจิตใจของนักศึกษาไทยที่กำลังศึกษาในหลักสูตรนานาชาติใน กรุงเทพมหานคร ประเทศไทยen_US
dc.typeOriginal Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he01.tci-thaijo.org/index.php/AIHD-MU/article/view/97811/76549

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ad-ar-prapapun-2017.pdf
Size:
562.15 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections