Publication:
อิทธิพลของความวิตกกังวลของผู้ปกครองต่อระดับความกลัว/ความวิตกกังวลในการทำฟันในเด็กไทยกลุ่มหนึ่ง

dc.contributor.authorมาลี อรุณากูรen_US
dc.contributor.authorMalee Arunakulen_US
dc.contributor.authorชลาธิป ชมพูนุท ณ อยุธยาen_US
dc.contributor.authorChalatip Chompunud Na Ayudthayaen_US
dc.contributor.authorณัฐกานต์ ไตรตานนท์en_US
dc.contributor.authorNattakan Traitanonen_US
dc.contributor.authorลีรวรรณ บูรณจรรยากุลen_US
dc.contributor.authorLeerawan Buranajanyakulen_US
dc.contributor.authorยุวดี อัศวนันท์en_US
dc.contributor.authorYuwadee Asvanunden_US
dc.contributor.authorเข็มทอง มิตรกูลen_US
dc.contributor.authorKemthong Mitrakulen_US
dc.contributor.correspondenceมาลี อรุณากูรen_US
dc.contributor.correspondenceMalee Arunakulen_US
dc.contributor.otherคณะทันตแพทยศาสตร์. มหาวิทยาลัยมหิดล. ภาควิชาทันตกรรมเด็กen_US
dc.date.accessioned2015-04-20T04:14:13Z
dc.date.accessioned2017-01-05T06:57:14Z
dc.date.available2015-04-20T04:14:13Z
dc.date.available2017-01-05T06:57:14Z
dc.date.created2015-04-07
dc.date.issued2011-05
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อหาระหว่างความสัมพันธ์ระหว่างความกลัวและความวิตกกังวลของผู้ปกครองและของเด็กต่อการเข้ารับการรักษาทางทันตกรรม รวมทั้งบัจจัยของผู้ปกครองที่มีอิทธิพลต่อความกลัวของเด็ก วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยแบบตัดขวางโดยใช้แบบสอบถามและสัมภาษณ์ผู้ปกครองและเด็กอายุระหว่าง 7 ถึง 12 ปี โดยตรง ที่คลินิกทันตกรรมเด็ก คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล แบบสอบถามมี 2 ชุด สำหรับใช้กับผู้ปกครองและสำหรับเด็ก เก็บข้อมูลของผู้ปกครอง เพศความสัมพันธ์กับผู้ป่วยเด็ก ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน และประวัติการรักษาทางทันตกรรม ได้แก่ ความถี่ ประสบการณ์ด้านลบที่ได้รับจากการทางทันตกรรม เก็บข้อมูลของเด็ก อายุ เพศ จำนวนพี่น้อง ลำดับบุตร และประวัติการรักษาทางทันตกรรมได้แก่ จำนวนครั้งที่เข้ารับการรักษาทางทันตกรรมประเภทของการรักษาที่เคยได้รับ ประสบการณ์ด้านลบจากการรับการรักษาทางทันตกรรม โดยทั้งผู้ปกครองและเด็กใช้โมดิฟายหว่องเบเกอร์เฟสเพนสเกลวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติไคร์สแควร์และอโนว่า ผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างมีทั้งหมดจำนวน 93 คู่ ผู้ปกครองส่วนใหญ่เลี้ยงดูเด็กเอง ร้อยละ 48.4 เคยมีประสบการณ์ไม่ดีในการรักษาทางทันตกรรมสำหรับเด็กนั้นร้อยละ 69.9 ไม่เคยมีประสบการณ์ไม่ดีในการเข้ารับการรักษาทางทันตกรรม ค่าเฉลี่ยระดับความกลัวและความวิตกกังวลของผู้ปกครองและของเด็กไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ รวมทั้งระดับความกลัวและความวิตกกังวลของผู้ปกครองมีความสัมพันธ์กับระดับความกลัวและความวิตกกังวลของเด็กอย่างมีนัยสำคัญ (ค่าสหสัมพันธ์ = 0 ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01) นอกจากนี้ ยังพบว่าประสบการณ์ไม่ดีที่เด็กเคยได้รับนำไปสู่ความกลัวและวิตกกังวลในการเข้ารับการรักษาครั้งต่อไป การอบรม เลี้ยงดู และการเล่าประสบการณ์ที่ไม่ดีให้ฟังไม่ส่งผลต่อระดับความกลัวและความวิตกกังวลของเด็กในช่วงอายุนี้ บทสรุป: ระดับความวิตกกังวลและความกลัวของผู้ปกครองสัมพันธ์กับระดับความวิตกวังวลและความกลัวของเด็กen_US
dc.description.abstractObjectives: To investigate the relationship between parents and their childûs fear and anxiety levels during receiving dental treatments and to examine the parental influence over childûs dental fear. Materials and Methods: This is a cross-sectional clinical observation by mean of questionnaires and direct interview. There were two sets of the questionnaire; one for parents and the other for their child. Parent general data; sex, age, education levels, monthly income, and the unsatisfied experiences during receiving dental treatments in the past were collected. Children general data ; sex, age, birth order, number of siblings the unsatisfied experiences during receiving dental treatments in the past, ineluding type of received procedures, and frequency of dental visit were also collected. Both of them used the Modified Wong Baker face pain scale. Data was analyzed by Chi-square statistics and ANOVA. Results: Total of ninety-three pairs of parent and their child (aged between 7-12 yr.) were participated. Forty eight percents of parents encountered bad dental experiences in the past. Seventy percents of child participants never had bad dental experiences. An average of parentûs fear and anxiety levels was not significantly different from their childûs. Parent fear and anxiety levels were significantly associated with those of their child (r=0 at p<0.001). In children, gaining bad experiences from previous dental treatment led to the development of fear and anxiety in the next appointment. Parenting styles and telling their childûs bad dental experiences were not associated with childûs fear and anxiety levels in these age group. Conclusion: Parental fear and anxiety levels during receiving dental treatments were significantly associated with those of their child.
dc.identifier.citationมาลี อรุณากูร, ชลาธิป ชมพูนุท ณ อยุธยา, ณัฐกานต์ ไตรตานนท์, ลีรวรรณ บูรณจรรยากุล, ยุวดี อัศวนันท์, เข็มทอง มิตรกูล. อิทธิพลของความวิตกกังวลของผู้ปกครองต่อระดับความกลัว/ความวิตกกังวลในการทำฟันในเด็กไทยกลุ่มหนึ่ง. ว ทันต มหิดล. 2554; 31(2): 111-20.en_US
dc.identifier.issn0125-5614 (printed)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1092
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectความกลัวen_US
dc.subjectความวิตกกังวลen_US
dc.subjectทันตกรรมเด็กen_US
dc.subjectโมดิฟายหว่องและเบเกอร์เฟสสเกลen_US
dc.subjectพ่อแม่en_US
dc.subjectAnxietyen_US
dc.subjectFearen_US
dc.subjectParentsen_US
dc.subjectPediatric dentistryen_US
dc.subjectModified Wong Baker face pain scaleen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectวิทยาสารทันตแพทยศาสตร์มหิดล
dc.subjectMahidol Dental Journal
dc.titleอิทธิพลของความวิตกกังวลของผู้ปกครองต่อระดับความกลัว/ความวิตกกังวลในการทำฟันในเด็กไทยกลุ่มหนึ่งen_US
dc.title.alternativeThe Influences of parental anxiety on level of dental fear/anxiety in a group of Thai childrenen_US
dc.typeArticleen_US
dcterms.dateAccepted2011-09-02
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttp://www.dt.mahidol.ac.th/division/offeducation/education_1_6/data/book/2554/full%20text/MDJ_Vol31_No2.pdf

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
dt-ar-malee-2554.pdf
Size:
593 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:

Collections