Publication: Quality of Life of the Early Retired Government Officers in Nonthaburi Province
Issued Date
2008
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
55594 bytes
Rights
Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health. Vol.38, No.3 (2008), 407-415
Suggested Citation
Nanthamongkolchai, S, Sutham Nanthamongkolchai, Pasapun, U, Charrupoonphol, P, Pitaya Charrupoonphol, Munsawaengsub, C, Chokchai Munsawaengsub, สุธรรม นันทมงคลชัย, พิทยา จารุพูนผล, โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์ Quality of Life of the Early Retired Government Officers in Nonthaburi Province. Journal of Public Health. Vol.38, No.3 (2008), 407-415. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2322
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Quality of Life of the Early Retired Government Officers in Nonthaburi Province
Alternative Title(s)
คุณภาพชีวิตกับการเกษียณอายุราชการก่อนกำหนด จังหวัดนนทบุรี
Abstract
A Cross-sectional study aimed to study quality of life of the early retired government officers and factors related. Two hundred early retired government officers in Nonthaburi Province were selected by simple random sampling technique. The data were collected by interview questionnaire during November 15, 2004 to January 15, 2005, analyzed by frequency, percentage,
mean, standard deviation, Pearson product moment correlation coefficient, and stepwise multiple regression. The result revealed that the majority of early retired government officers (70.5%) had a high level of quality of life, followed by moderate level (28.5%) and low level (1.0%). The factors with statistically significant related to quality of life of the early retired government officers (p-value < 0.05) were self-esteem, participation in family activities, participation in social activities, and social support. In addition, self-esteem, participation in social activities, and social support could
significantly predict quality of life of early retired government officers by 52.6%. The factor with the highest predictive power for quality of life was self-esteem.
To promote the good quality of life of the early retirees, the health provider should start with the promotion of self-esteem, then establish and broaden the communicating networks of early retirees to enable them to keep contact and participate in social activities.
การวิจัยเชิงสำรวจภาคตัดขวางครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้เกษียณอายุราชการก่อนกำหนด จังหวัดนนทบุรี และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กลุ่มตัวอย่างคือกลุ่มผู้เกษียณอายุราชการก่อนกำหนดที่อาศัยอยู่ในจังหวัดนนทบุรี จำนวน 200 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่าย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ระหว่างวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ถึงวันที่ 15 มกราคม พ.ศ.2548 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยนเบนมาตรฐาน การตรวจสอบสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า ผู้เกษียณอายุราชการก่อนกำหนดส่วนใหญ่มีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ 70.5) รองลงมาคือ ระดับปานกลาง (ร้อยละ 28.5) และระดับต่ำ (ร้อยละ 1.0) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตอย่างนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) ได้แก่ ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของครอบครัว การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม และแรงสนับสนุนทางสังคม เมื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่สามารถทำนายคุณภาพชีวิตของผู้เกษียณอายุราชการก่อนกำหนด พบว่า ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม และแรงสนันสนุนทางสังคม สามารถร่วมทำนายคุณภาพชีวิตของผู้เกษียณอายุราชการก่อนกำหนดได้ ร้อยละ 52.6 และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองสามารถร่วมทำนายได้สูงสุด เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้เกษียณอายุราชการก่อนกำหนด ควรเริ่มต้นจากการส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง จัดตั้งเครือข่ายผู้เกษียณอายุเพื่อเปิดโอกาสให้ร่วมทำกิจกรรมทางสังคมด้วยกันอย่างกว้างขวาง
การวิจัยเชิงสำรวจภาคตัดขวางครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้เกษียณอายุราชการก่อนกำหนด จังหวัดนนทบุรี และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง กลุ่มตัวอย่างคือกลุ่มผู้เกษียณอายุราชการก่อนกำหนดที่อาศัยอยู่ในจังหวัดนนทบุรี จำนวน 200 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่าย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ระหว่างวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ถึงวันที่ 15 มกราคม พ.ศ.2548 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยนเบนมาตรฐาน การตรวจสอบสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า ผู้เกษียณอายุราชการก่อนกำหนดส่วนใหญ่มีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับสูง (ร้อยละ 70.5) รองลงมาคือ ระดับปานกลาง (ร้อยละ 28.5) และระดับต่ำ (ร้อยละ 1.0) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตอย่างนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) ได้แก่ ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของครอบครัว การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม และแรงสนับสนุนทางสังคม เมื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่สามารถทำนายคุณภาพชีวิตของผู้เกษียณอายุราชการก่อนกำหนด พบว่า ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม และแรงสนันสนุนทางสังคม สามารถร่วมทำนายคุณภาพชีวิตของผู้เกษียณอายุราชการก่อนกำหนดได้ ร้อยละ 52.6 และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองสามารถร่วมทำนายได้สูงสุด เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้เกษียณอายุราชการก่อนกำหนด ควรเริ่มต้นจากการส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง จัดตั้งเครือข่ายผู้เกษียณอายุเพื่อเปิดโอกาสให้ร่วมทำกิจกรรมทางสังคมด้วยกันอย่างกว้างขวาง