Publication:
ปัจจัยกระตุ้นที่มีผลต่อจำนวนวันนอนโรงพยาบาลนานกว่า 1 วัน ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันที่มาที่ห้องฉุกเฉิน

dc.contributor.authorปุงควะ ศรีเจริญen_US
dc.contributor.authorดิลก ภิยโยทัยen_US
dc.contributor.authorไชยพร ยุกเซ็นen_US
dc.contributor.authorPungkava Sricharoenen_US
dc.contributor.authorDilok Piyayotaien_US
dc.contributor.authorChaiyaporn Yuksenen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉินen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. คณะแพทยศาสตร์. ภาควิชาอายุรศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2022-07-20T09:22:48Z
dc.date.available2022-07-20T09:22:48Z
dc.date.created2565-07-20
dc.date.issued2565
dc.description.abstractบทนำ: ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันมีปัจจัยกระตุ้นที่แตกต่างกัน จะมีจำนวนวันนอนโรงพยาบาลที่แตกต่างกัน วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยกระตุ้นที่มีผลให้ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน มีจำนวนวันนอนโรงพยาบาลนานกว่า 1 วัน วิธีการศึกษา: การศึกษาเชิงพยากรณ์แบบย้อนหลังในผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน กลุ่มที่ไม่ได้เสียชีวิตและใส่ท่อช่วยหายใจใน 6 ชั่วโมงแรก ที่มาห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลรามาธิบดี ระหว่างปี พ.ศ. 2559 ถึง พ.ศ. 2560 เก็บรวบรวมข้อมูลลักษณะของผู้ป่วย โรคประจำตัว อาการแสดง สัญญาณชีพแรกรับ ผลการส่งตรวจเบื้องต้นที่ห้องฉุกเฉิน และปัจจัยกระตุ้นให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันของผู้ป่วย โดยนำปัจจัยกระตุ้นให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันของผู้ป่วยมาทำนายจำนวนวันนอนโรงพยาบาลนานกว่า 1 วัน ด้วยวิธี Multivariable logistic regression ผลการศึกษา: ผู้ป่วยจำนวนทั้งหมด 213 คน เป็นผู้ป่วยที่เข้ารับการักษาในโรงพยาบาลมากกว่า 1 วัน จำนวน 151 คน และน้อยกว่า 1 วัน จำนวน 62 คน ปัจจัยกระตุ้นที่ทำนายจำนวนวันนอนโรงพยาบาลที่มากกว่า 1 วัน ได้แก่ ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ และภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ส่วนปัจจัยทำนายจำนวนวันนอนโรงพยาบาลที่น้อยกว่า 1 วัน ได้แก่ ภาวะขาดยา โดยหลังจากปรับความแตกต่างด้านเพศ อายุ โรคประจำตัว และระดับความรุนแรงของภาวะหัวใจล้มเหลว (NYHA class) แล้ว ผู้ป่วยที่มีปัจจัยกระตุ้นภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ มีโอกาสนอนโรงพยาบาลนานกว่า 1 วัน เท่ากับ 7.46 เท่า (95% CI, 2.09 - 26.60) สรุป: ผู้ป่วยที่มีปัจจัยกระตุ้นภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเป็นภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ มีโอกาสนอนโรงพยาบาลนานกว่า 1 วัน ในกรณีที่มีข้อจำกัดของเตียงโรงพยาบาล ควรพิจารณาผู้ป่วยกลุ่มนี้เป็นผู้ป่วยในen_US
dc.description.abstractprecipitating factors. Therefore, there will be a different length of hospital stays. Objective: To identify precipitating factors in acute decompensated heart failure patients that predict the length of stay of more than 1 day. Methods: A retrospective cohort study collected data of acute decompensated heart failure patients who were not dead and not inserted an endotracheal tube in the first 6 hours who came to the emergency department of Ramathibodi Hospital during 2016 to 2017. Collected data from the characteristics of patients, underlying diseases, medical signs, vital signs and laboratory in the emergency department, and factors stimulating acute decompensated heart failure in patients. Logistic regressions were used for data analysis. Results: Of all 213 patients, 151 patients stayed in the hospital for more than 1 day and 62 patients in less than 1 day. Precipitating factors that predict more than 1 day of hospital stay are arrhythmia and acute coronary syndrome. Precipitating factor that predicts less than 1 day of hospital stay is noncompliance with medications. After adjusting by sex, age, comorbid, and NYHA class, precipitating factors that predict more than 1 day of hospital stay is an arrhythmia (OR, 7.46; 95% CI, 2.09 - 26.60). Conclusions: Patients who precipitate acute decompensated heart failure by arrhythmia have probably more than 1 day of hospital stay. In the case of hospital bed limit, this group of patients should be considered as inpatients.en_US
dc.identifier.citationรามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 45, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2565), 11-20en_US
dc.identifier.issn0125-3611 (Print)
dc.identifier.issn2651-0561 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72196
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์en_US
dc.subjectภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันen_US
dc.subjectจำนวนวันนอนen_US
dc.subjectห้องฉุกเฉินen_US
dc.subjectAcute decompensated heart failureen_US
dc.subjectLength of stayen_US
dc.subjectEmergency roomen_US
dc.titleปัจจัยกระตุ้นที่มีผลต่อจำนวนวันนอนโรงพยาบาลนานกว่า 1 วัน ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันที่มาที่ห้องฉุกเฉินen_US
dc.title.alternativePrecipitating Factors Predict Length of Stay More Than 1 Day in Acute Decompensated Heart Failure Patients Visiting Emergency Departm enten_US
dc.typeOriginal Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/article/view/252761/174933

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ra-ar-pungkava-2565.pdf
Size:
2.79 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections