Publication:
Factors Associated With the Use of Subdermal Etonogestrel Implants Among Postpartum Primipara Adolescents

dc.contributor.authorWatcharee Rueankhongen_US
dc.contributor.authorSomsak Suthutvoravuten_US
dc.contributor.authorJirat Tangthitiwongen_US
dc.contributor.authorวัชรี เรือนคงen_US
dc.contributor.authorสมศักดิ์ สุทัศน์วรวุฒิen_US
dc.contributor.authorจิรัตน์ ตั้งฐิตวงศ์en_US
dc.contributor.otherMahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Obstetrics and Gynecologyen_US
dc.contributor.otherHealth Promotion Center 13en_US
dc.date.accessioned2022-09-12T08:47:42Z
dc.date.available2022-09-12T08:47:42Z
dc.date.created2022-09-12
dc.date.issued2018
dc.description.abstractBackground: In Thailand, there has been a high incidence of adolescent pregnancy which leads to major public health and socioeconomic problems such as unplanned pregnancy, induced abortion and negative impacts on the health of the mothers and newborns. Contraception among adolescents is so important that it can prevent those problem, especially subdermal etonogestrel implant which are recommended to be effective and suitable for adolescents. Objective: To study the rate of use and factors associated with the use of subdermal etonogestrel implants among postpartum primipara adolescents in Saraburi province. Methods: This study is an observational descriptive research. The population were 106 primipara adolescents at 4 - 6 weeks postpartum period at three hospitals in Saraburi province (ie, Saraburi Hospital, Pra-putabat Hospital, and Banmoh Hospital). Data was collected by interviewing postpartum primipara adolescents from March 21, 2016, to June 30, 2016. Data was analyzed by descriptive statistics which included frequency, percentage, mean and stranded deviation. Test of hypothesis was done by chi-square test, Fisher’s exact test and multiple logistic regression analysis with the significant level at P < 0.05. Results: Among 106 postpartum primipara adolescents, 93.4% used contraceptives (31.1% used subdermal etonogestrel implant; 62.3% used other reversible contraceptions [eg, depot medroxyprogesterone acetate injection, oral contraceptions and condoms]), and 6.6% used no contraception. By univariate analysis, factors significantly associated with the use of implant among primipara adolescents included age of primipara adolescents, age of husband, expense, convenience of use, side effects, application pain, duration of contraception and medical personnel’s recommendation. When multiple logistic regression analysis was applied, only four factors were significantly associated with the use of implant. The most significant factor was medical personnel’s recommendation. The other significant factors were expense, age of husband and duration of contraception. Conclusion: Most of primipara adolescents at 4 - 6 weeks postpartum period in Saraburi province used contraceptives. Subdermal etonogestrel implants was the second most common contraceptive used. The most important factor for the use of implant was medical personnel’s advice which emphasized on the use of implants in order to prevent unplanned pregnancy among adolescents.en_US
dc.description.abstractบทนำ: ประเทศไทยมีอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอยู่ในระดับสูง ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาสำคัญทั้งด้านสาธารณสุข สังคม และเศรษฐกิจ เช่น การตั้งครรภ์ไม่พร้อม การทำแท้งผิดกฎหมาย และผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของมารดาวัยรุ่นและทารก เป็นต้น การวางแผนคุมกำเนิดในวัยรุ่นจึงมีความสำคัญในการป้องกันและลดปัญหาดังกล่าวโดยเฉพาะการใช้ยาฝังคุมกำเนิด ซึ่งเป็นวิธีที่เหมาะสมและแนะนำสำหรับวัยรุ่น วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอัตราและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้ยาฝังคุมกำเนิดใต้ผิวหนังชนิดอีโทโนเจสเตรลในสตรีวัยรุ่นหลังคลอดครรภ์แรกในจังหวัดสระบุรี วิธีการศึกษา: การวิจัยแบบสังเกตเชิงพรรณนา กลุ่มตัวอย่างจำนวน 106 คน เป็นสตรีไทยวัยรุ่นหลังคลอดครรภ์แรกอย่างน้อย 4 - 6 สัปดาห์ อายุ 13 - 19 ปี คลอดที่โรงพยาบาล 3 แห่ง ในจังหวัดสระบุรี ได้แก่ โรงพยาบาลศูนย์สระบุรี โรงพยาบาลพระพุทธบาท และโรงพยาบาลบ้านหมอ ทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์สตรีวัยรุ่นหลังคลอดครรภ์แรก ระหว่างวันที่ 21 มีนาคม ถึง 30 มิถุนายน พ.ศ. 2559 จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานใช้สถิติ Chi-square test, Fisher’s exact test และ Multiple logistic regression analysis โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างสตรีวัยรุ่นหลังคลอดครรภ์แรก จำนวน 106 คน ใช้วิธีคุมกำเนิดร้อยละ 93.4 โดยใช้ยาฝังคุมกำเนิดใต้ผิวหนังชนิดอีโทโนเจสเตรลร้อยละ 31.1 ใช้วิธีคุมกำเนิดวิธีอื่น เช่น ยาฉีดคุมกำเนิด ยาเม็ดคุมกำเนิดและถุงยางอนามัยร้อยละ 62.3 ไม่คุมกำเนิดร้อยละ 6.6 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรเดี่ยวพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้ยาฝังคุมกำเนิดในสตรีวัยรุ่นหลังคลอดครรภ์แรกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ อายุของสตรี อายุของสามี ค่าใช้จ่ายในการคุมกำเนิด ความสะดวกในการใช้ ผลข้างเคียง ความเจ็บปวด ระยะเวลาการออกฤทธิ์คุมกำเนิด แพทย์หรือพยาบาลแนะนำให้ใช้ และเมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุโลจิสติกส์พบว่า มี 4 ปัจจัย ที่มีนัยสำคัญทางสถิติกับการฝังยาคุมกำเนิดในสตรีวัยรุ่น ปัจจัยที่มีนัยสำคัญสูงสุด คือ แพทย์หรือพยาบาลแนะนำให้ใช้ ปัจจัยที่มีนัยสำคัญอื่น ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการคุมกำเนิด อายุสามี และระยะเวลาออกฤทธิ์คุมกำเนิด สรุป: สตรีวัยรุ่นครรภ์แรกหลังคลอด 4 - 6 สัปดาห์ ในจังหวัดสระบุรี ส่วนใหญ่ตัดสินใจคุมกำเนิดและเลือกใช้ยาฝังคุมกำเนิดใต้ผิวหนังชนิดอีโทโนเจสเตรลมากที่สุดเป็นอันดับสอง ปัจจัยสำคัญที่สุดคือ คำแนะนำของแพทย์หรือพยาบาล ซึ่งแนะนำการใช้ยาฝังคุมกำเนิดเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นต่อไปen_US
dc.identifier.citationRamathibodi Medical Journal. Vol. 41, No. 1 (Jan-Mar 2018), 9-16en_US
dc.identifier.issn0125-3611 (Print)
dc.identifier.issn2651-0561 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79500
dc.language.isoengen_US
dc.rightsMahidol Universityen_US
dc.rights.holderDepartment of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol Universityen_US
dc.rights.holderHealth Promotion Center 13en_US
dc.subjectContraceptionen_US
dc.subjectLong acting reversible contraceptionsen_US
dc.subjectImplanten_US
dc.subjectPostpartumen_US
dc.subjectPrimipara adolescentsen_US
dc.subjectการคุมกำเนิดen_US
dc.subjectการคุมกำเนิดชั่วคราวแบบออกฤทธิ์นานen_US
dc.subjectยาฝังคุมกำเนิดen_US
dc.subjectหลังคลอดen_US
dc.subjectวัยรุ่นหลังคลอดครรภ์แรกen_US
dc.titleFactors Associated With the Use of Subdermal Etonogestrel Implants Among Postpartum Primipara Adolescentsen_US
dc.title.alternativeปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้ยาฝังคุมกำเนิดใต้ผิวหนังชนิดอีโทโนเจสเตรลในสตรีวัยรุ่นหลังคลอดครรภ์แรกen_US
dc.typeOriginal Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/article/view/85358/90204

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ra-ar-watchare-2018.pdf
Size:
4.01 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections