Publication: Effect of noble metal primers on the microtensile bond strength of resin cements to zirconia
Accepted Date
2011-05-19
Issued Date
2011-05
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-5614 (printed)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Dentistry Mahidol University
Bibliographic Citation
Urapepon S, Wootthisarnwatthana K. Effect of noble metal primers on the microtensile bond strength of resin cements to zirconia. M Dent J. 2011; 31(2): 65-72.
Suggested Citation
Somchai Urapepon, สมชาย อุรพีพล, Kamala Wootthisarnwatthana, กมลา วุฒิสารวัฒนา Effect of noble metal primers on the microtensile bond strength of resin cements to zirconia. Urapepon S, Wootthisarnwatthana K. Effect of noble metal primers on the microtensile bond strength of resin cements to zirconia. M Dent J. 2011; 31(2): 65-72.. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1089
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Effect of noble metal primers on the microtensile bond strength of resin cements to zirconia
Alternative Title(s)
ผลของสารไพรเมอร์สำหรับโลหะมีตระกูลต่อกำลังแรงยึดแบบดึงระดับจุลภาคระหว่างเรซินซีเมนต์และเซอร์โคเนีย
Corresponding Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
Objective: The purpose of this study was to evaluate the effect of two
thiol-derivative noble metal primers on the microtensile bond strength of
resin cements to zirconia.
Methods: Thirty-six block specimens of zirconia were prepared, and their
surfaces were sandblasted with 250 and 50 μm aluminum oxide particles.
Specimens were divided into six groups, which were treated and bonded
in combination with two noble primers (Alloy primer® and Metaltite®) and
two resin cements (Panavia F and RelyX U100). Resin cements without
noble primer treated specimens served as control. All specimens were
stored in water at 37 ÌC for 24 hours. After storage, one specimen block
was cut into 12 microbars with 1 mm2
bonded surface. The microbars were
randomly divided into two testing conditions. Half of them were subjected
to a microtensile test immediately and the other hall thermocycled at 5
to 55 ÌC for 10,000 cycles before microtensile testing.
Results and Conclusion: Both thiol-derivative noble metal primers did not
show any effect on the bond to zirconia. However, MDP, containing in
Panavia F and Alloy primer, was found to influence the bond to zirconia.
The durability of the bond to zirconia was unstable under thermocycling.
Significance: The thiol-derivative noble metal primer did not enhance the
bond to zirconia
วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินประสิทธิภาพของสารไพรเมอร์สำหรับโลหะมีตระกูล 2 ชีวิต ที่มีส่วนประกอบของสารประกอบไทออล ต่อกำลังแรงยึดแบบดึงระดับจุลภาค ระหว่างเรซินซีเมนต์และเซอร์โคเนีย วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา: เตรียมชิ้นตัวอย่างเซอร์โคเนียเป็นแท่งสี่เหลี่ยม 36 ชิ้น เป่าทรายที่ผิวชิ้นตัวอย่างด้วยผงอะลูมินัมออกไซด์ขนาด 250 และ 50 ไมโครมิเตอร์ ตามลำดับ ก่อนแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มทดลอง 4 กลุ่ม ทาสารไพรเมอร์สำหรับโลหะมีตระกูล 2 ชนิด (อัลลอยด์ไพรเมอร์และเม็ททัลไทท์) และยึดด้วยเรซินซีเมนต์ 2 ชนิด (พานาเวียเอฟและรีไลเอ็กซ์ยูร้อย) ส่วนกลุ่มควบคุมยึดด้วยเรซินซีเมนต์โดยไม่ทาสารไพรเมอร์ นำชี้ตัวอย่างเป็นแท่งเล็กๆมีขนาดพื้นที่หน้าตัด 1 ตารางมิลลิเมตร จำนวน 12 แท่ง และแบ่งออกเป็นสองกลุ่มโดยการสุ่ม กลุ่มแรกนำไปหาค่ากำลังแรงยึดแบบตึงระดับจุลภาคทันที ส่วนกลุ่มที่สองนำไปผ่านการทำเทอร์โมไซคลิง 10,000 รอบที่อุณหภูมิ 5 องศา และ 55 องศา ก่อนทำการทดสอบกำลังแรงยึด ผลการศึกษาและบทสรุป: สารไพรเมอร์สำหรับโลหะมีตระกูล ที่มีส่วนประกอบของสารประกอบไทออล ทั้ง 2 ชนิด ไม่มีผลในการเพิ่มประสิทธิภาพการยึดอยู่ต่อเซอร์โคเนีย แต่พบว่า สารเอ็มดีพี (ในพานาเวียเอฟ และในอัลลอยด์ไพรเมอร์)สามารถเพิ่มค่ากำลังแรงยึดอย่างมีนัยสำคัญต่อเซอร์โคเนีย การทำเทอร์โมไซคลิงมีผลให้ค่ากำลังแรงยึดของเรซินซีเมนต์ทั้งสองชนิดลดลง นัยสำคัญ: สารไพรเมอร์สำหรับโลหะมีตระกูล ที่มีส่วนประกอบของสารประกอบไทออล ไม่มีผลในการเพิ่มประสิทธิภาพการยึดอยู่ของเรซินซีเมนต์ต่อเซอร์โคเนีย
วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินประสิทธิภาพของสารไพรเมอร์สำหรับโลหะมีตระกูล 2 ชีวิต ที่มีส่วนประกอบของสารประกอบไทออล ต่อกำลังแรงยึดแบบดึงระดับจุลภาค ระหว่างเรซินซีเมนต์และเซอร์โคเนีย วัสดุอุปกรณ์และวิธีการศึกษา: เตรียมชิ้นตัวอย่างเซอร์โคเนียเป็นแท่งสี่เหลี่ยม 36 ชิ้น เป่าทรายที่ผิวชิ้นตัวอย่างด้วยผงอะลูมินัมออกไซด์ขนาด 250 และ 50 ไมโครมิเตอร์ ตามลำดับ ก่อนแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มทดลอง 4 กลุ่ม ทาสารไพรเมอร์สำหรับโลหะมีตระกูล 2 ชนิด (อัลลอยด์ไพรเมอร์และเม็ททัลไทท์) และยึดด้วยเรซินซีเมนต์ 2 ชนิด (พานาเวียเอฟและรีไลเอ็กซ์ยูร้อย) ส่วนกลุ่มควบคุมยึดด้วยเรซินซีเมนต์โดยไม่ทาสารไพรเมอร์ นำชี้ตัวอย่างเป็นแท่งเล็กๆมีขนาดพื้นที่หน้าตัด 1 ตารางมิลลิเมตร จำนวน 12 แท่ง และแบ่งออกเป็นสองกลุ่มโดยการสุ่ม กลุ่มแรกนำไปหาค่ากำลังแรงยึดแบบตึงระดับจุลภาคทันที ส่วนกลุ่มที่สองนำไปผ่านการทำเทอร์โมไซคลิง 10,000 รอบที่อุณหภูมิ 5 องศา และ 55 องศา ก่อนทำการทดสอบกำลังแรงยึด ผลการศึกษาและบทสรุป: สารไพรเมอร์สำหรับโลหะมีตระกูล ที่มีส่วนประกอบของสารประกอบไทออล ทั้ง 2 ชนิด ไม่มีผลในการเพิ่มประสิทธิภาพการยึดอยู่ต่อเซอร์โคเนีย แต่พบว่า สารเอ็มดีพี (ในพานาเวียเอฟ และในอัลลอยด์ไพรเมอร์)สามารถเพิ่มค่ากำลังแรงยึดอย่างมีนัยสำคัญต่อเซอร์โคเนีย การทำเทอร์โมไซคลิงมีผลให้ค่ากำลังแรงยึดของเรซินซีเมนต์ทั้งสองชนิดลดลง นัยสำคัญ: สารไพรเมอร์สำหรับโลหะมีตระกูล ที่มีส่วนประกอบของสารประกอบไทออล ไม่มีผลในการเพิ่มประสิทธิภาพการยึดอยู่ของเรซินซีเมนต์ต่อเซอร์โคเนีย