Publication: สมรรถนะหลักของบุคลากรศูนย์อนามัยแห่งหนึ่งในสังกัดกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
dc.contributor.author | เพชรรัตน์ อรุณภาคมงคล | |
dc.contributor.author | ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ | |
dc.contributor.author | ณัฐนารี เอมยงค์ | |
dc.contributor.author | Petcharat Aroonpakmongkol | |
dc.contributor.author | Chardsumon Prutipinyo | |
dc.contributor.author | Natnaree Aimyong | |
dc.date.accessioned | 2024-06-25T07:12:40Z | |
dc.date.available | 2024-06-25T07:12:40Z | |
dc.date.created | 2567-06-25 | |
dc.date.issued | 2566 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวัดความสัมพันธ์และอำนาจในการทำนายระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยแรงจูงใจต่อสมรรถนะหลักของบุคลากร กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรศูนย์อนามัยแห่งหนึ่งในสังกัดกรมอนามัย จำนวน 144 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ ทดสอบค่าเฉลี่ยของข้อมูล 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน วิเคราะห์ความแปรปรวนจำแนกทางเดียว วิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และ วิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 84.7) การศึกษาระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 79.20) เป็นข้าราชการ (ร้อยละ 91.7) แรงจูงใจอยู่ในระดับปานกลาง ระดับสมรรถนะอยู่ในระดับปานกลาง ข้าราชการและพนักงานราชการมีระดับแรงจูงใจและสมรรถนะหลักที่ไม่แตกต่างกัน แรงจูงใจมีความสัมพันธ์กับสมรรถนะหลักของบุคลากร (r = 0.76) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.001) และมีอำนาจพยากรณ์ได้ร้อยละ 58.6 การวิจัยนี้มีข้อเสนอ ผู้บริหารนำผลการศึกษาไปเป็นแนวทางในการสร้างแรงจูงใจและพัฒนาสมรรถนะหลักบุคลากร เพื่อให้บุคลากรปฏิบัติงานเต็มกำลังความสามารถ ส่งผลให้บรรลุพันธกิจและเป้าหมายขององค์กร และเพื่อใช้ผลการศึกษาเป็นแนวทางให้ผู้ที่ต้องการศึกษาการพัฒนาสมรรถนะหลักของบุคลากรศูนย์อนามัย กรมอนามัย ในเขตอื่นต่อไป | |
dc.description.abstract | This research aims to measure correlation and predictive power between personal and motivational factors on core competency of personnel at a Regional Health Promotion Center under the Department of Health. The sample consisted of 144 personnel. Data were collected using a quality-checked questionnaire. The data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, Independent T-Test, One Way ANOVA, Pearson's Product-Moment correlation and Multiple Regression. The results showed that majority of the sample were female (84.7%), with a bachelor's degree (79.20 %), and being civil servants (91.7%). Their motivation was at a moderate level. Performance level was moderate. Civil servants and government officials had no different levels of motivation and core competencies. Motivation was statistically related to personnel's core competencies (r = 0.76, p-value < 0.001 ) and had 58.6 percent predictive power Recommendation for study as a guideline for motivating and developing core competency of personnel for performing their work to the best of their ability to achieve the mission and goals of the organization. Using the results of the study is recommended as a guideline for those who want to study the development of core competencies of health center personnel, Department of Health, in other districts. | |
dc.identifier.citation | วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข. ปีที่ 9, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2566), 35-47 | |
dc.identifier.issn | 2697-6285 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/98969 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.rights.holder | ภาควิชาระบาดวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | Core Competencies | |
dc.subject | Personnel of a Regional Health Promotion Center Under the Department of Health | |
dc.subject | สมรรถนะหลัก | |
dc.subject | บุคลากรของศูนย์อนามัยแห่งหนึ่งในสังกัดกรมอนามัย | |
dc.title | สมรรถนะหลักของบุคลากรศูนย์อนามัยแห่งหนึ่งในสังกัดกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข | |
dc.title.alternative | A regional health promotion center’s personnel core competencies under the Department of Health, Ministry of Public Health | |
dc.type | Original Article | |
dcterms.accessRights | open access | |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://so05.tci-thaijo.org/index.php/journal_law/article/view/261480/177294 | |
oaire.citation.endPage | 47 | |
oaire.citation.issue | 1 | |
oaire.citation.startPage | 35 | |
oaire.citation.title | วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข | |
oaire.citation.volume | 9 | |
oaire.version | Accepted Manuscript | |
oairecerif.author.affiliation | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข | |
oairecerif.author.affiliation | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาระบาดวิทยา |
Files
Original bundle
1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
- Name:
- ph-ar-chardsum-2566-1.pdf
- Size:
- 3.34 MB
- Format:
- Adobe Portable Document Format