Publication: ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของตํารวจไทย
dc.contributor.author | ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ | en_US |
dc.contributor.author | Doungrut Wattanakitkrileart | en_US |
dc.contributor.author | จงจิต เสน่หา | en_US |
dc.contributor.author | Chongjit Saneha | en_US |
dc.contributor.author | รุ้งนภา ผาณิตรัตน์ | en_US |
dc.contributor.author | Rungnapa Panitrat | en_US |
dc.contributor.author | กลิ่นชบา สุวรรณรงค์ | en_US |
dc.contributor.author | Klinchaba Suvarnarong | en_US |
dc.contributor.author | พรรณิภา สืบสุข | en_US |
dc.contributor.author | Pannipa Suebsuk | en_US |
dc.contributor.author | เดช เกตุฉ่ำ | en_US |
dc.contributor.author | Det Kedcham | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-02-21T08:13:17Z | |
dc.date.available | 2018-02-21T08:13:17Z | |
dc.date.created | 2018-02-21 | |
dc.date.issued | 2554 | |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของตํารวจ รูปแบบการวิจัย: การวิจัยหาความสัมพันธ์เชิงทํานาย วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ตํารวจจํานวน 82 นาย จากสถานีตํารวจนครบาล 2 แห่ง ในเขตบางกอกน้อย เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การรับรู้ประโยชน์ในการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การรับรู้สมรรถนะในการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย: การรับรู้สมรรถนะในตนเองในการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และการรับรู้ประโยชน์ในการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสําคัญกับการปฏิบัติพฤติกรรมสร้าง เสริมสุขภาพ (r = .695 และ r = .514, p < .01 ตามลําดับ) การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพมีความสัมพันธ์ทางลบอย่างมีนัยสําคัญกับการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ (r = - .349, p < .01) การรับรู้สมรรถนะในตนเองในการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพเพียงตัวแปรเดียวที่สามารถทํานายการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพได้อย่างมีนัยสําคัญ (p < .01) การรับรู้สมรรถนะในตนเอง การรับรู้ประโยชน์ และการรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพสามารถร่วมกันทํานายการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพได้ร้อยละ 50.8 อย่างมีนัยสําคัญ (p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยที่ได้พบว่าการรับรู้สมรรถนะในตนเองในการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพสามารถทํานายการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพได้อย่างมีนัยสําคัญ พยาบาลจึงควร พัฒนากิจกรรมการพยาบาลเพื่อส่งเสริมให้ตํารวจเกิดความตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพ และสร้างการรับรู้สมรรถนะในตนเองในการปฏิบัติพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ | en_US |
dc.description.abstract | Purpose: This study aimed to examine health promotion behaviors and factors influencing health promotion behaviors of Thai police officer.Design: A correlational predictive study design.Methods: Participants comprised 82 police officers in two metropolitan police stations, Bangkoknoi District, Bangkok, Thailand. The research instruments included a demographic and health status questionnaire, health promotion behaviors questionnaire, perceived self-efficacy, perceived benefits and barriers to perform health promotion behaviors questionnaires. The data were analyzed using descriptive statistics and multiple regression.Main findings: The participants’ age ranged from 23-58 years old. Perceived self-efficacy and perceived benefits to perform health promotion behaviors were positively and significantly correlated with health promotion behaviors (r = .695 and r = .514, p < .01, respectively). Perceived barriers to perform health promotion behaviors had a significant negative relationship with health promotion behaviors (r = - .349, p < .01). Only perceived self-efficacy to perform health promotion behaviors significantly predicted health promotion behaviors (p < .01). The three factors could explain 50.8% of the variance in health promotion behaviors (p < .05).Conclusion and recommendations: The results demonstrated that perceived self efficacy was a significant predictor of health behaviors. Nurses should therefore develop nursing interventions to enhance awareness and self efficacy among police officers to perform health promotion behaviors. | en_US |
dc.description.sponsorship | ได้รับทุนสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 29 (ฉ. เพิ่มเติม 2), ฉบับที่ 3 (ก.ค - ก.ย. 2554), 133-142 | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/8770 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ | en_US |
dc.subject | การรับรู้อุปสรรค | en_US |
dc.subject | การรับรู้ประโยชน์ | en_US |
dc.subject | การรับรู้สมรรถนะในตนเอง | en_US |
dc.subject | ตํารวจ | en_US |
dc.subject | วารสารพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.subject | Journal of Nursing Science | en_US |
dc.subject | Open Access article | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของตํารวจไทย | en_US |
dc.title.alternative | Factors Influencing Health Promotion Behaviors of Thai Police Officers | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/2882 |