Publication:
ผลของการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธต่อความวิตกกังวลของผู้ดูแลเด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้ง

dc.contributor.authorสุนันทา ตั้งปนิธานดีen_US
dc.contributor.authorชนมน เจนจิรวัฒน์en_US
dc.contributor.authorปัญจศา ลี้ศิริสรรพ์en_US
dc.contributor.authorมินทร์ลดา เพิ่มทรัพย์ทวีผลen_US
dc.contributor.authorSununta Tangpanithandeeen_US
dc.contributor.authorChanamon Jenjirawaten_US
dc.contributor.authorPanjasa Leesirisanen_US
dc.contributor.authorMinlada Prermsubtawephonen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษกen_US
dc.date.accessioned2019-10-30T06:07:40Z
dc.date.available2019-10-30T06:07:40Z
dc.date.created2562-10-30
dc.date.issued2558
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยา แนวพุทธต่อความวิตกกังวลของผู้ดูแลเด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้ง ใช้รูปแบบการวิจัยแบบกลุ่มเดียว วัดผลเปรียบเทียบก่อนและหลังการทดลองโดยวัดก่อนการทดลอง 1 ครั้งระหว่างการทดลอง 4 ครั้ง และหลังสิ้นสุดการทดลอง 1 ครั้ง วัดแต่ละครั้งห่างกัน 3-4 สัปดาห์ยึดหลักการพิทักษ์สิทธิ์และ ยินยอมเข้าร่วมงานวิจัยก่อนดำเนินการเก็บข้อมูล กลุ่มตัวอย่างคือแม่และน้าผู้ปฏิบัติบทบาทมารดา ทดแทนในการเลี้ยงดูเด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้งหมู่บ้านเด็กมูลนิธิสงเคราะห์เด็กของสภากาชาดไทย จำนวน 11 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ดำเนินการโดยให้แม่และน้าเข้าร่วมการให้ คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่มครั้งละประมาณ 3 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 5 ครั้ง เป็นระยะเวลา 14 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองได้แก่ การให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยา แนวพุทธเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามความวิตกกังวลของสปิลเบอร์เกอร์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยายและสถิติ Wilcoxon Signed-Ranks Test ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ย คะแนนความวิตกกังวลหลังสิ้นสุดการให้คำปรึกษาต่ำกว่าก่อนการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและค่าเฉลี่ยคะแนนความวิตกกังวลหลังเข้าร่วมการให้คำปรึกษาครั้งที่ 1, 2, 3, 4, และ 5 ต่ำกว่าก่อนให้คำปรึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติดังนั้นการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยา แนวพุทธควรได้รับการพิจารณาในการนำมาใช้เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ปฏิบัติบทบาทมารดา ทดแทนในการเลี้ยงดูเด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้ง อย่างไรก็ตาม ในการศึกษาครั้งนี้ไม่มีกลุ่มควบคุม และจำนวนตัวอย่างน้อยจึงอาจมีข้อจำกัดในการอ้างอิงผลการวิจัยในกลุ่มอื่นen_US
dc.description.abstractThe purpose of this quasi-experimental research aimed to determine the effect of counseling based on Buddhist Psychology on anxiety in foster parents. The study was conducted in one sample group and evaluated a total of six times: one pre-experimental evaluation, four during the experimental evaluation, and one post-experimental evaluation with 3 to 4-week intervals between each evaluation. Based on the protection of patients’ rights,the purposive sample comprised 11 foster parents of the Thai Red Cross children home village.The 11 foster parents attended the counseling based on Buddhist Psychology three hours per session for 14 weeks with a total of five sessions. The instruments used in the experiment included the counseling based on Buddhist Psychology. The Spielberger State Anxiety Inventory was used to assess anxiety of the sample. The data were analyzed using descriptive statistics and Wilcoxon Signed-Ranks Test. The findings showed that the average anxiety scores of foster parents after experiment were statistically and significantly lower than that prior to the experiment. Moreover, the mean score of anxiety decreased significantly after participation at sessions 1, 2, 3, 4, and 5. In conclusion, counseling based on Buddhist Psychology could be used to reduce anxiety in foster parents. However, this study had no control group and had a small sample size, therefore, generalization is limited to other populations.en_US
dc.identifier.citationรามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 21, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2558), 368-381en_US
dc.identifier.issn0858-9739 (Print)
dc.identifier.issn2672-9784 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/47983
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการให้คำปรึกษาen_US
dc.subjectจิตวิทยาแนวพุทธen_US
dc.subjectผู้ดูแลเด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้งen_US
dc.subjectความวิตกกังวลen_US
dc.subjectCounselingen_US
dc.subjectBuddhist psychologyen_US
dc.subjectFoster parentsen_US
dc.subjectAnxietyen_US
dc.titleผลของการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธต่อความวิตกกังวลของผู้ดูแลเด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้งen_US
dc.title.alternativeEffect of Counseling Based on Buddhist Psychology on Anxiety in Foster Parentsen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/RNJ/article/view/33012/41168

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
gj-ar-sununta-2558.pdf
Size:
530.42 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections