Publication:
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นต่อการใช้ประโยชน์จากรางแดง (Ventilago denticulata Willd.) ใน ต.เกาะเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี

dc.contributor.authorภากร นอแสงศรีen_US
dc.contributor.authorรัฐพล ศรประเสริฐen_US
dc.contributor.authorอนงคณ์ หัมพานนท์en_US
dc.contributor.authorสยาม อรุณศรีมรกตen_US
dc.contributor.authorทนงศักดิ์ จงอนุรักษ์en_US
dc.contributor.authorPakorn Norseangsrien_US
dc.contributor.authorRatapol Sornpraserten_US
dc.contributor.authorAnong Hambanandaen_US
dc.contributor.authorSayam Aroonsrimorakoten_US
dc.contributor.authorThanongsak Jonganuraken_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-05T07:02:10Z
dc.date.accessioned2020-01-07T06:15:13Z
dc.date.available2015-09-05T07:02:10Z
dc.date.available2020-01-07T06:15:13Z
dc.date.created2015-09-05
dc.date.issued2552
dc.description.abstractการวิจัยเพื่อศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ภูมิปัญญาท้องถิ่นต่อการใช้ประโยชน์ของรางแดงใน ต.เกาะเกร็ด อ.ปาก เกร็ด จ.นนทบุรี โดยเก็บขอ้ มูลวิจัยตั้งแต่เดือนมกราคม-ธันวาคม พ.ศ. 2550 ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของ รางแดง พบว่ารางแดงมีชื่อทางพฤกษศาสตร์ว่า Ventilago denticulate Willd. เป็นไมร้ อเลื้อย เปลือกเถาแตกเป็นร่าง แหสีแดง ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่ถึงรูปรี มีขน ปกคลุมเส้นกลางใบเส้นใบ ช่อดอกเป็นราซิโมสแบบช่อกระจะ มี สูตรดอกเป็นผลเดี่ยวแบบแห้ง ไม่แตก ปีกเดียว เมื่อตรวจสอบลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของรางแดงกับตัวอย่าง พรรณ ไม้แห้ง ในสกุล Ventilago จำนวน 9 ชนิด ของสำนักงานหอพรรณไม้พบว่ามีลักษณะทางพฤกษศาตร์ที่สอดคล้องกับ BKF No 137192 (V. denticulate Willd.) ส่วนภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นต่อการใชป้ระโยชน์จากรางแดง พบว่าสามารถใช้ใบ รางแดงมาทำเป็นผลิตภัณฑ์ชารางแดง และเมื่อชงดื่มเป็นประจำจะช่วยบำบัดอาการต่าง ๆคือ ขับปัสสาวะ ลดคลอเล สเตอรอลและน้ำตาลในเลือด คลายกล้ามเนื้อ บำรุงร่างกาย ข้ออักเสบ ความดันโลหิต ควบคุมน้ำหนัก ผลิตภัณฑ์ชา รางแดงเป็นสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และได้รับการจดอนุสิทธิบัตรเลขที่ 4139en_US
dc.description.abstractThe objectives of research were to study the botanical morphology of Rang Daeng in Koh Kred. Pak Kred district Nontaburi province as well as local wisdom utilization. Data was collected during January- December 2007. The results were found that Rang Daeng scientific name is “Ventilago denticulate Willd.”. It is scandent, red net bark, ovate to elliptic alternate simple leave, vein and midrib with trachoma covered, racemose inflorescence like raceme, floral formulas indehiscent simple fruit, samara. Botanical morphology of Rang Daeng was compared to the specimen in the Forest Herbarium Office, Royal Forest Department. Specified morphology is similar to the BKF No 137192 (V. denticulate Willd.). The utilization of Rang Daeng from local wisdom was found that Rang Daeng leaves often used as tea products. The frequently drink can help to cure diuretic, reduce cholesterol and blood sugar, relaxant, strengthen health, arthritis, reduce blood pressure and diet. Rang Daeng was also one of the significant OTOP (one Tumbon(Village) one product) and had been registered as rights patent No. 4139.
dc.identifier.citationวารสารวิชาการ การเกษตร. ปีที่ 27, ฉบับที่ 2 (2552), 184-194.en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48706
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectรางแดงen_US
dc.subjectVentilago denticulata Willden_US
dc.subjectพฤกษศาสตร์en_US
dc.subjectภูมิปัญญาท้องถิ่นen_US
dc.titleลักษณะทางพฤกษศาสตร์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นต่อการใช้ประโยชน์จากรางแดง (Ventilago denticulata Willd.) ใน ต.เกาะเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรีen_US
dc.title.alternativeBotanical Morphology and Local Wisdom Utilization of Rang Daeng (Ventilago denticulate Willd.) in Kohen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:

Collections