Publication: Screening of Antimicrobial Resistant Bacteria in Dog Shelters in Thailand
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Veterinary Science Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Applied Animal Science. Vol.11, No.3 (Sep- Dec 2018), 25-36
Suggested Citation
Somjit Chaiwattanarungruengpaisan, Norasuthi Bangphoomi, Sivapong Sungpradit, Naratchaphan Pati, Teerawit Tangkosku, Narisara Thamthaweechok, Visanu Thamlikitkul, สุขฤทัย บุญมาไสว, นรสุทธิ์ บางภูมิ, ศิวะพงษ์ สังข์ประดิษฐ์, นรัชพัณญ์ ปะทิ, ธีรวิทย์ ตั้ก่อสกุล, นริศรา ธรรมทวีโชค, วิษณุ ธรรมลิขิตกุล Screening of Antimicrobial Resistant Bacteria in Dog Shelters in Thailand. Journal of Applied Animal Science. Vol.11, No.3 (Sep- Dec 2018), 25-36. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/54014
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Screening of Antimicrobial Resistant Bacteria in Dog Shelters in Thailand
Abstract
The number of stray dogs in Thailand has been increasing every year. This situation could lead to an
increase in microorganisms, including antimicrobial resistant (AMR) bacteria that can be transmitted between
humans and dogs. This study evaluated the prevalence of AMR bacteria isolated from rectal swabs taken from dogs
living in shelters located throughout Thailand. The most common bacteria isolated from the samples of 159 healthy
dogs were Enterobacteriaceae (71.3%). The prevalence of extended-spectrum beta-lactamase (ESBL)-producing
Enterobacteriaceae among the bacterial strains isolated from the dogs was 70.1%. Moreover, Pseudomonas
aeruginosa, Acinetobacter baumannii and Staphylococcus aureus were isolated from the rectal swabs.
The percentages of ESBL-producing Enterobacteriaceae in the fecal carriage from dogs living in shelters with
and without employed veterinarians were not significantly different (72.2% vs. 69.6%, respectively; P=0.5).
The isolated Enterobacteriaceae were usually resistant to ampicillin and ceftriaxone. The percentages for
antimicrobial susceptibility of Edwardsiella tarda, P. aeruginosa, Acinetobacter spp. and S. aureus were also
not significantly different between the two types of shelter. Our study revealed that shelter dogs in Thailand
may be the reservoir of AMR Enterobacteriaceae. Therefore, people should have awareness of the high prevalence
of AMR bacteria among dogs living in shelters, and they should strengthen the efficiency and appropriateness of
preventive management at the shelters. These include the rational use of antimicrobials to limit the production
of AMR bacteria. The good sanitation and hygiene practices in shelters are required to limit AMR bacterial
transmission among the dogs, and from them to humans.
ประเทศไทยมีจำนวนสุนัขจรจดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สถานการณ์ดังกล่าวอาจนำไปสู่การแพร่กระจายของเชื้อโรคระหว่างมนุษย์และสุนัข รวมทั้งแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพ การศึกษาครั้งนี้สำรวจความชุกของแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพจากอุจจาระของสุนัขที่อาศัยอยู่ในสถานพักพิงสุนัขทั่วประเทศไทย แบคทีเรียที่พบมากที่สุดจากตัวอย่างที่เก็บจากสุนัขสุขภาพดีจำนวน 159 ตัว คือ แบคทีเรียกลุ่ม Enterobacteriaceae (ร้อยละ 71.3) และพบ ESBL-producing Enterobacteriaceae จากสุนัขร้อยละ 70.1 นอกจากนี้ยังพบแบคทีเรีย Pseudomonas aeruginosa Acinetobacter baumannii และ Staphylococcus aureus จากอุจาระของสุนัขด้วย ความชุกของ ESBL-producing Enterobacteriaceae ในสุนัขที่อาศัยในสถานพักพิงสุนัขที่มีการจ้างสัตวแพทย์ทำงานประจำ และไม่มีสัตวแพทย์ทำงานประจำ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (ร้อยละ 72.2 และร้อยละ 69.6 P=0.5 ตามลำดับ) Enterobacteriaceae ที่พบมักดื้อยา ampicillin และ ceftriaxone ส่วนความไวต่อยาต้านจุลชีพของ Edwardsiella tarda P. aeruginosa Acinetobacter spp. และS. Aureus ที่พบจากสุนัขของสถานพักพิงสุนัขทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน ผลการวิจัยนี้แสดงว่า สุนัขที่อาศัยในสถานพักพิงสุนัข อาจจะเป็นแหล่งเก็บกักแบคทีเรียเรียกกลุ่ม Enterobacteriaceae ที่ดื้อยาต้านจุลชีพ ดังนั้น ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ควรมีความตระหนักถึงการแพร่กระจายของแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพในสถานพักพิงสุนัข และควรมีการพัฒนามาตรการที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ รวมถึงการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุสมผล เพื่อจำกัดการสร้างแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพ การจัดการด้านสุขอยามัยที่ดีในสถานพักพิงจะช่วยจำกัดการแพร่กระจายของแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพ ระหว่างสุนัขที่อาศัยรวมกัน และระหว่างสุนัขกับมนุษย์
ประเทศไทยมีจำนวนสุนัขจรจดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สถานการณ์ดังกล่าวอาจนำไปสู่การแพร่กระจายของเชื้อโรคระหว่างมนุษย์และสุนัข รวมทั้งแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพ การศึกษาครั้งนี้สำรวจความชุกของแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพจากอุจจาระของสุนัขที่อาศัยอยู่ในสถานพักพิงสุนัขทั่วประเทศไทย แบคทีเรียที่พบมากที่สุดจากตัวอย่างที่เก็บจากสุนัขสุขภาพดีจำนวน 159 ตัว คือ แบคทีเรียกลุ่ม Enterobacteriaceae (ร้อยละ 71.3) และพบ ESBL-producing Enterobacteriaceae จากสุนัขร้อยละ 70.1 นอกจากนี้ยังพบแบคทีเรีย Pseudomonas aeruginosa Acinetobacter baumannii และ Staphylococcus aureus จากอุจาระของสุนัขด้วย ความชุกของ ESBL-producing Enterobacteriaceae ในสุนัขที่อาศัยในสถานพักพิงสุนัขที่มีการจ้างสัตวแพทย์ทำงานประจำ และไม่มีสัตวแพทย์ทำงานประจำ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (ร้อยละ 72.2 และร้อยละ 69.6 P=0.5 ตามลำดับ) Enterobacteriaceae ที่พบมักดื้อยา ampicillin และ ceftriaxone ส่วนความไวต่อยาต้านจุลชีพของ Edwardsiella tarda P. aeruginosa Acinetobacter spp. และS. Aureus ที่พบจากสุนัขของสถานพักพิงสุนัขทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน ผลการวิจัยนี้แสดงว่า สุนัขที่อาศัยในสถานพักพิงสุนัข อาจจะเป็นแหล่งเก็บกักแบคทีเรียเรียกกลุ่ม Enterobacteriaceae ที่ดื้อยาต้านจุลชีพ ดังนั้น ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ควรมีความตระหนักถึงการแพร่กระจายของแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพในสถานพักพิงสุนัข และควรมีการพัฒนามาตรการที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ รวมถึงการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุสมผล เพื่อจำกัดการสร้างแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพ การจัดการด้านสุขอยามัยที่ดีในสถานพักพิงจะช่วยจำกัดการแพร่กระจายของแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพ ระหว่างสุนัขที่อาศัยรวมกัน และระหว่างสุนัขกับมนุษย์