Publication: Thai Women's Belief on Roles of Nurse-midwives Working with Pregnant Women in Antenatal, Intranatal and Postnatal Units
Issued Date
2009
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Nursing Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 32, No. 1 (Jan-Mar 2009), 21-31
Suggested Citation
Streerut Thadakant, Wan-nagm Kritsupalerk, สตรีรัตน์ ธาดากานต์, วันงาม กฤตศุภฤกษ์ Thai Women's Belief on Roles of Nurse-midwives Working with Pregnant Women in Antenatal, Intranatal and Postnatal Units. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 32, No. 1 (Jan-Mar 2009), 21-31. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79883
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Thai Women's Belief on Roles of Nurse-midwives Working with Pregnant Women in Antenatal, Intranatal and Postnatal Units
Other Contributor(s)
Abstract
The purposes of this study were to explore women's belief on roles of nurse-midwives working with pregnant women in antenatal, intranatal and postnatal units, and to examine differences in beliefs of women accessing care at different types of health care settings. The samples recruited in the study were 323 primigravid women firstly booking at primary to tertiary health settings (Bang-Yai Health center, Oothong Community hospital, Rachaburi provincial hospital, Maternal and Child hospital (Health promo- tion centre), and Ramathibodi university hospital). A questionnaire was chosen as a tool to collect data. Descriptive statistic was used to analyze demographic data and womens beliefs, while Odd ratio with 95% confident interval to examine differences in beliefs. It was found that not all roles defined by the Thai Nursing and Midwifery Council were not perceived by Thai pregnant women as midwife roles. Differences in beliefs also existed amongst women visiting different types of settings. Women booking care at Bang-Yai Health center, community, Provincial hospital, and Maternal and Child hospital believed more numbers of procedures as midwife's roles than those visiting at university hospital. Thai midwifery practice thus is not well recognized by pregnant women. The findings from this study can be used as fundamental data for developing midwifery practice and its profession in Thailand by firstly enhancing public recognition of care provided by midwives.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความเชื่อของสตรีไทยต่อบทบาทของพยาบาลผดุงครรภ์ที่ให้การดูแลสตรีตั้งครรภ์ในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของความเชื่อของสตรีที่ฝากครรภ์ ณ สถานพยาบาลปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และ ตติยภูมิ (สถานีอนามัยบางใหญ่ โรงพยาบาลชุมชนอู่ทองโรงพยาบาลประจำจังหวัดโรงพยาบาลแม่และเด็ก และโรงพยาบาลรามาธิบดี) กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยสตรีตั้งครรภ์แรกไปรับการฝากครรภ์ครั้งแรกที่คลินิกฝากครรภ์ของสถานพยาบาลทั้ง 5 แห่ง จำนวนทั้งสิ้น 323 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ประกอบด้วยบทบาทของผดุงครรภ์ทั้งหมดที่สถานพยาบาลและผดุงครรภ์แห่งประเทศไทยกำหนด วิเคราะห์ข้อมูลการสำรวจความเชื่อของสตรีตั้งครรภ์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และเปรียบเทียบความเชื่อของสตรีที่ไปฝากครรภ์ต่างสถานพยาบาล โดยใช้ Odd ratio ที่คำความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลการศึกษาพบว่าสตรีตั้งครรภ์มีความเชื่อเกี่ยวกับบทบาทของผดุงครรภ์แตกต่างกันไป โดยเชื่อว่าบางบทบาทที่เป็นบทบาทของผดุงครรภ์ไม่ได้เป็นกิจกรรมการดูแลที่อยู่ภายใต้บทบาทของของผดุงครรภ์ นอกจกนี้สตรีตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ที่ฝากครรภ์ที่สถานีอนามัย โรงพยาบาลอู่ทองโรงพยาบาลประจำจังหวัด โรงพยาบาลแม่และเด็ก ระบุบทบาทที่เชื่อว่าเป็นบทบาทของผดุงครรภ์จำนวนมากกว่าสตรีที่ไปรับการฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่าบทบาทของผดุงครรภ์ในการให้การดูแลสตรีตั้งครรภ์ตลอดการตั้งครรภ์ยังไม่เป็นที่ยอมรับของสตรีไทย ผลที่ได้จากการศึกษาสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาวิชาชีพผดุงครรภ์ได้ในอนาคต เนื่องจากในการพัฒนาวิชาชีพ การทำให้เกิดการยอมรับจากผู้รับบริการเป็นตัวแปรที่สำคัญตัวแปรหนึ่ง ดังนั้น เพื่อพัฒนาวิชาชีพผดุงครรภ์ การส่งเสริมความเข้าใจของสังคมเกี่ยวกับบทบากผดุงครรภ์ที่แท้จริงให้แก่สตรีไทยจึงน่าจะเป็นสิ่งที่ควรกระทำ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความเชื่อของสตรีไทยต่อบทบาทของพยาบาลผดุงครรภ์ที่ให้การดูแลสตรีตั้งครรภ์ในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของความเชื่อของสตรีที่ฝากครรภ์ ณ สถานพยาบาลปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และ ตติยภูมิ (สถานีอนามัยบางใหญ่ โรงพยาบาลชุมชนอู่ทองโรงพยาบาลประจำจังหวัดโรงพยาบาลแม่และเด็ก และโรงพยาบาลรามาธิบดี) กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยสตรีตั้งครรภ์แรกไปรับการฝากครรภ์ครั้งแรกที่คลินิกฝากครรภ์ของสถานพยาบาลทั้ง 5 แห่ง จำนวนทั้งสิ้น 323 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ประกอบด้วยบทบาทของผดุงครรภ์ทั้งหมดที่สถานพยาบาลและผดุงครรภ์แห่งประเทศไทยกำหนด วิเคราะห์ข้อมูลการสำรวจความเชื่อของสตรีตั้งครรภ์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และเปรียบเทียบความเชื่อของสตรีที่ไปฝากครรภ์ต่างสถานพยาบาล โดยใช้ Odd ratio ที่คำความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลการศึกษาพบว่าสตรีตั้งครรภ์มีความเชื่อเกี่ยวกับบทบาทของผดุงครรภ์แตกต่างกันไป โดยเชื่อว่าบางบทบาทที่เป็นบทบาทของผดุงครรภ์ไม่ได้เป็นกิจกรรมการดูแลที่อยู่ภายใต้บทบาทของของผดุงครรภ์ นอกจกนี้สตรีตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ที่ฝากครรภ์ที่สถานีอนามัย โรงพยาบาลอู่ทองโรงพยาบาลประจำจังหวัด โรงพยาบาลแม่และเด็ก ระบุบทบาทที่เชื่อว่าเป็นบทบาทของผดุงครรภ์จำนวนมากกว่าสตรีที่ไปรับการฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่าบทบาทของผดุงครรภ์ในการให้การดูแลสตรีตั้งครรภ์ตลอดการตั้งครรภ์ยังไม่เป็นที่ยอมรับของสตรีไทย ผลที่ได้จากการศึกษาสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาวิชาชีพผดุงครรภ์ได้ในอนาคต เนื่องจากในการพัฒนาวิชาชีพ การทำให้เกิดการยอมรับจากผู้รับบริการเป็นตัวแปรที่สำคัญตัวแปรหนึ่ง ดังนั้น เพื่อพัฒนาวิชาชีพผดุงครรภ์ การส่งเสริมความเข้าใจของสังคมเกี่ยวกับบทบากผดุงครรภ์ที่แท้จริงให้แก่สตรีไทยจึงน่าจะเป็นสิ่งที่ควรกระทำ