Publication: Factors Affecting the Quality of Life in Children with Epilepsy
Issued Date
2021
Resource Type
Language
eng
ISSN
0858-9739 (Print)
2672-9784 (Online)
2672-9784 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Ramathibodi School of Nursing Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Nursing Journal. Vol. 27, No. 1 (Jan-Apr 2021), 15-29
Suggested Citation
Arthittaya Kaenkrai, Autchareeya Patoomwan, Suporn Wongvatunyu, Apasri Lusawat, อาทิตยา แก่่นไกร, อัจฉรียา ปทุุมวัน, ศุุภร วงศ์วทัญญู, อาภาศรี ลุุสวัสดิ์์ Factors Affecting the Quality of Life in Children with Epilepsy. Ramathibodi Nursing Journal. Vol. 27, No. 1 (Jan-Apr 2021), 15-29. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72017
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors Affecting the Quality of Life in Children with Epilepsy
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุุณภาพชีวิตเด็กโรคลมชัก
Abstract
Health-related quality of life (HRQOL) is considered as an important clinical
outcome, especially in children with chronic illnesses. This predictive, descriptive study
aimed at investigating the factors affecting health-related quality of life in children with
epilepsy, including epilepsy severity, comorbidity, and family functioning. The sample,
which consisted of 90 caregivers of children with epilepsy between the ages of 4 to 15
years, was recruited from the pediatric neurological out-patient clinic and in-patient
wards at Prasat Neurological Institute, and Ramathibodi Hospital located in Bangkok,
Thailand. Data were collected during June-August 2019. A set of questionnaires was
used including demographic characteristics and medical record of illness data of children
with epilepsy, the Chulalongkorn Family Inventory (CFI), and the Quality of Life in
Childhood Epilepsy (QOLCE-16). Data analysis used descriptive statistics, Pearson’s
product-moment correlation coefficient, and multiple regression analysis. The findings
revealed that epilepsy severity, comorbidity, and family functioning could jointly predict
the overall QOLCE, and accounted for 28.40% of the variance in the overall quality of
life of children with epilepsy. Results of this study would help nurses and healthcare
professionals provide adequate support and further design the intervention to improve
the quality of life among children with epilepsy.
คุุณภาพชีวิตเป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงผลลัพธ์ทางการรักษาที่สำคัญทางคลินิกโดยเฉพาะ อย่างยิ่งในผู้ป่วยเด็กโรคเรื้อรัง การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์เชิงทำนายปัจจัย ที่มีอิทธิผลต่อคุณภาพชีวิตเด็กโรคลมชัก โดยปัจจัยคัดสรร ได้แก่ ความรุนแรงของโรคลมชัก โรคร่วม และการทำหน้าที่ของครอบครัว กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ดูแลหลักของเด็กโรคลมชักช่วงอายุ 4-15 ปี ที่มารับการตรวจรักษาในคลินิกโรคระบบประสาทเด็กทั้งแผนกผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน สถาบันประสาทวิทยาและโรงพยาบาลรามาธิบดี จำนวน 90 ราย โดยเลือกตัวอย่างแบบ เฉพาะ เจาะจงตามคุุณสมบัติที่กำหนด เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมิถุนายน-สิงหาคม พ.ศ. 2562 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลระดับ ความรุนแรงของโรคลมชัก แบบประเมินการปฏิบัติหน้าที่ของครอบครัว และแบบประเมินคุณภาพ ชีวิตผู้ป่วยเด็กโรคลมชัก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่าความรุนแรงของโรคลมชัก โรคร่วม และการทำหน้าที่ของครอบครัวสามารถร่วมกันทำนายคุุณภาพชีวิตโดยรวมได้ร้อยละ 28.40 ผลการศึกษานี้จะเป็นประโยชน์สำหรับพยาบาลและบุุคลากรทีมสุุขภาพในการสนับสนุนการดูแล เด็กโรคลมชักอย่างเหมาะสมและออกแบบโปรแกรมเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเด็กโรค ลมชักต่อไป
คุุณภาพชีวิตเป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงผลลัพธ์ทางการรักษาที่สำคัญทางคลินิกโดยเฉพาะ อย่างยิ่งในผู้ป่วยเด็กโรคเรื้อรัง การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์เชิงทำนายปัจจัย ที่มีอิทธิผลต่อคุณภาพชีวิตเด็กโรคลมชัก โดยปัจจัยคัดสรร ได้แก่ ความรุนแรงของโรคลมชัก โรคร่วม และการทำหน้าที่ของครอบครัว กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ดูแลหลักของเด็กโรคลมชักช่วงอายุ 4-15 ปี ที่มารับการตรวจรักษาในคลินิกโรคระบบประสาทเด็กทั้งแผนกผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน สถาบันประสาทวิทยาและโรงพยาบาลรามาธิบดี จำนวน 90 ราย โดยเลือกตัวอย่างแบบ เฉพาะ เจาะจงตามคุุณสมบัติที่กำหนด เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมิถุนายน-สิงหาคม พ.ศ. 2562 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลระดับ ความรุนแรงของโรคลมชัก แบบประเมินการปฏิบัติหน้าที่ของครอบครัว และแบบประเมินคุณภาพ ชีวิตผู้ป่วยเด็กโรคลมชัก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่าความรุนแรงของโรคลมชัก โรคร่วม และการทำหน้าที่ของครอบครัวสามารถร่วมกันทำนายคุุณภาพชีวิตโดยรวมได้ร้อยละ 28.40 ผลการศึกษานี้จะเป็นประโยชน์สำหรับพยาบาลและบุุคลากรทีมสุุขภาพในการสนับสนุนการดูแล เด็กโรคลมชักอย่างเหมาะสมและออกแบบโปรแกรมเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเด็กโรค ลมชักต่อไป