Publication: สำรวจเส้นทาง ประสบการณ์ และความคาดหวังของผู้ป่วยที่เคยมีประสบการณ์ตรวจการนอนหลับ ก่อนและหลังการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของศูนย์โรคการนอนหลับ
dc.contributor.author | นิภาพร โกสมสัย | |
dc.contributor.author | วิสาข์ สิริตันตระกูล | |
dc.contributor.author | สมประสงค์ เหลี่ยมสมบัติ | |
dc.contributor.author | Nipaporn Kosomsai | |
dc.contributor.author | Visasiri Tantrakul | |
dc.contributor.author | Somprasong Liamsombut | |
dc.date.accessioned | 2025-05-13T03:52:13Z | |
dc.date.available | 2025-05-13T03:52:13Z | |
dc.date.created | 2568-05-13 | |
dc.date.issued | 2567 | |
dc.description.abstract | บทนำ: การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus disease 2019, COVID-19) หรือโรคโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อสังคม สุขภาพ และเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงในการบริการด้านสุขภาพของผู้ป่วย โดยเฉพาะในศูนย์โรคการนอนหลับ วัตถุประสงค์: เพื่อสำรวจเส้นทาง ประสบการณ์ และความคาดหวังของผู้ป่วยที่เคยตรวจการนอนหลับก่อนและหลังการระบาดของโรคโควิด-19 วิธีการศึกษา: การวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธี Ethnography โดยการสัมภาษณ์แบบเชิงลึก กลุ่มตัวอย่างจำนวน 20 คน เป็นผู้ป่วยจากแผนกอายุรกรรมที่เคยเข้าตรวจการนอนหลับก่อนวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2563 อย่างน้อย 1 ครั้ง และมีนัดตรวจระหว่างวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565 เป็นครั้งที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้หลักการ Thematic analysis ผลการศึกษา: เส้นทางของผู้ป่วยตรวจการนอนหลับหลังการระบาดของโรคโควิด-19 เปลี่ยนแปลงไปในบางจุดบริการ ที่เด่นชัดประการหนึ่งคือ ระยะรอตรวจเพิ่มขึ้น (เฉลี่ย 9 เดือน 12 วัน) เมื่อเทียบกับช่วงก่อนโควิด-19 (เฉลี่ย 3 เดือน 27 วัน) นอกจากนี้ ผู้ป่วยมีความพึงพอใจเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ (ร้อยละ 85.22) เมื่อเทียบกับช่วงก่อนโควิด-19 (ร้อยละ 78.17) เนื่องจากมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการเป็นแบบไร้สัมผัส และการตรวจระบบทางไกล (Telemedicine) ซึ่งความคาดหวังที่เกิดขึ้นมี 5 ประเด็น ได้แก่ 1) ขั้นตอน เอกสาร และคิวตรวจ 2) ช่องทางการสื่อสาร 3) เครื่องมือ อุปกรณ์ และสิ่งแวดล้อม 4) สวัสดิการ และอื่น ๆ และ 5) เจ้าหน้าที่ สรุป: จากผลการวิจัยสามารถสรุปเพื่อนำไปปรับปรุงและวางแผนการดำเนินงานในช่วงที่เกิดวิกฤตของศูนย์โรคการนอนหลับ โดยปัจจัยที่สำคัญ ได้แก่ การลดระยะเวลารอตรวจ การจัดฝึกอบรมให้ความรู้แก่พนักงานอย่างต่อเนื่อง และการบูรณาการเทคโนโลยี | |
dc.description.abstract | Background: The COVID-19 pandemic has globally affected society, health, and the economy, leading to changes in the delivery of patient services, particularly in sleep disorder centers. Objectives: To explore the pathways, experiences, and expectations of patients who underwent sleep disorder evaluations before and after the COVID-19 outbreak. Methods: A qualitative ethnographic study was conducted, employing in-depth interviews with 20 patients from the Department of Medicine who has previously undergone sleep studies at the sleep disorders center at least once, before March 20, 2020. These patients had a follow-up sleep study appointment for their second visit between March 1, 2022, and December 31, 2022. The data were analyzed using thematic analysis principles. Results: The pathways of patients undergoing sleep disorder evaluations changed at certain service points after the COVID-19 outbreak. One significant change was the increased waiting time for evaluations (average of 9 months and 12 days) compared to the period before COVID-19 (average of 3 months and 27 days). Additionally, patient satisfaction increased significantly (85.22% compared to 78.17%) due to changes of services into touchless technology and the implementation of telemedicine. Five factors remain to develop for better patient experience: 1) procedures, documents, and appointment queues; 2) communication channels; 3) tools, equipment, and environment; 4) benefits and others, and 5) staff. Conclusions: Based on the research findings, recommendations for improving crisis planning in sleep disorder centers include reducing waiting times, providing continuous staff training, and integrating technology. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 47, ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2567), 21-33 | |
dc.identifier.issn | 0125-3611 (Print) | |
dc.identifier.issn | 2651-0561 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/110052 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | ศูนย์โรคการนอนหลับ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.rights.holder | ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | โควิด-19 | |
dc.subject | การตรวจการนอนหลับ | |
dc.subject | สำรวจเส้นทางผู้ป่วย | |
dc.subject | ประสบการณ์ | |
dc.subject | ความคาดหวัง | |
dc.subject | COVID-19 | |
dc.subject | Polysomnography | |
dc.subject | Exploring journey | |
dc.subject | Experiences | |
dc.subject | Expectation | |
dc.title | สำรวจเส้นทาง ประสบการณ์ และความคาดหวังของผู้ป่วยที่เคยมีประสบการณ์ตรวจการนอนหลับ ก่อนและหลังการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของศูนย์โรคการนอนหลับ | |
dc.title.alternative | Exploring Journey, Experiences, and Expectation of Sleep Disorder Patient Before and After COVID-19 Pandemic in Sleep Disorder Center | |
dc.type | Original Article | |
dcterms.accessRights | open access | |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/article/view/267867/183744 | |
oaire.citation.endPage | 33 | |
oaire.citation.issue | 2 | |
oaire.citation.startPage | 21 | |
oaire.citation.title | รามาธิบดีเวชสาร | |
oaire.citation.volume | 47 | |
oaire.version | Accepted Manuscript | |
oairecerif.author.affiliation | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ศูนย์โรคการนอนหลับ | |
oairecerif.author.affiliation | มหาวิทยาลัยมหิดล. โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล. ภาควิชาอายุรศาสตร์ |
Files
Original bundle
1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
- Name:
- ra-ar-nipaporn-2567.pdf
- Size:
- 5.46 MB
- Format:
- Adobe Portable Document Format