Publication:
ผลสัมฤทธิ์การเรียนรายวิชาการฝึกสมาธิตามแนวพระพุทธศาสนา

dc.contributor.authorสมบูรณ์ วัฒนะen_US
dc.contributor.authorSomboon Watanaen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยศาสนศึกษาen_US
dc.date.accessioned2018-12-29T01:15:45Z
dc.date.available2018-12-29T01:15:45Z
dc.date.created2561-12-29
dc.date.issued2558
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนรายวิชาปฏิบัติสมาธิตาม แนวพระพุทธศาสนา ก่อนเข้าร่วมโครงการและหลังเข้าร่วมโครงการ และ 2) ศึกษาข้อคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะต่าง ๆ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 ที่เรียนรายวิชา ภาคปฏิบัติ : การฝึกสมาธิตามแนวพระพุทธศาสนา ในภาคการศึกษาที่ 2/2556 จำนวน 66 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง สถิติที่ใช้ คือ ค่าเฉลี่ย ( X ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และทดสอบสมมติฐานด้วย Paired Samples t-test ผลการวิจัยพบว่า 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนรายวิชาปฏิบัติสมาธิตามแนว พระพุทธศาสนา ก่อนเข้าร่วมโครงการและหลังเข้าร่วมโครงการ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยพบว่าผลสัมฤทธิ์ของการเรียนหลังการเข้าร่วมโครงการสูงกว่าก่อนเข้าร่วม โครงการ (t = 12.718) 2) การศึกษาข้อคิดเห็นและเสนอแนะ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่แสดง ความเห็นชื่นชมต่อโครงการ ว่าเป็นโครงการที่พัฒนาจิตใจให้มีสติ ทำให้จิตใจสงบ จิตใจมีสมาธิมากขึ้น เกิดความสงบสุขภายในจิตใจมากขึ้นกว่าเดิม และกลุ่มตัวอย่างได้แสดงความเห็นเพื่อการพัฒนาต่อ โครงการ ว่า ควรปรับระยะเวลาการนั่งสมาธิและเดินจงกรมในช่วง 2-3 วันแรกให้มีจำนวนลดลง และ ปรับเพิ่มเวลาให้มากขึ้นในวันต่อไป เพื่อผู้เข้าร่วมโครงการจะได้มีเวลาปรับตัว และควรเพิ่มช่วงเวลา สนทนาสอบถามอารมณ์จากประสบการณ์การฝึกสมาธิen_US
dc.description.abstractThe research aimed to 1) compare learning achievement of Practice of Buddhist Meditation Course by comparing the achievement before joining the project, and after joining the project and 2) study the comments and suggestions regarding teaching and learning management. The samples are 66 students of B.A. degree, who learned Practice of Buddhist Meditation Course in 2nd Semester/2013. The tools of the research are questionnaire and formal interview. The statistics are mean ( X ), Standard Deviation (SD) and Paired Samples t-test The results of the research are as follows: 1) learning achievement before and after participating in project of Practice of Buddhist Meditation Course can vary significantly by 0.05. Learning achievement after joining the project is higher than before joining the project (t = 12.718), 2) for the study of the comment and suggestion, the samples show the comments appreciated the project that it develops their minds to concentrate more, and helps them get inner peace more than ever before. There are comments for development the project given by samples that should adapt to sitting meditation and walking meditation (chongkrom) during the first 2-3 days, with the number of drops and add more time to the following days for adjust of the participants, and the discussion period should be added to query the mood from the meditation experience.en_US
dc.identifier.citationวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ 9, ฉบับที่ 3 (ก.ย. – ธ.ค. 2558), 46-56en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/40276
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์en_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์การเรียนen_US
dc.subjectการฝึกสมาธิตามแนวพระพุทธศาสนาen_US
dc.titleผลสัมฤทธิ์การเรียนรายวิชาการฝึกสมาธิตามแนวพระพุทธศาสนาen_US
dc.title.alternativeLEARNING ACHIEVEMENT OF PRACTICE OF BUDDHIST MEDITATION COURSEen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://so02.tci-thaijo.org/index.php/JournalGradVRU/article/view/40871

Files

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections