Publication:
ระดับความเครียดของบุคลากรสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน

dc.contributor.authorปราณี สุทธิสุคนธ์en_US
dc.contributor.authorจุฑาธิป ศีลบุตรen_US
dc.contributor.authorดุษณี ดำมีen_US
dc.contributor.authorเกรียงศักดิ์ ซื่อเลื่อมen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน
dc.date.accessioned2012-03-23T05:45:25Z
dc.date.accessioned2017-04-07T11:17:49Z
dc.date.available2012-03-23T05:45:25Z
dc.date.available2017-04-07T11:17:49Z
dc.date.created2012-03-23
dc.date.issued2552
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับความเครียดของบุคลากรสถาบันการศึกษา ด้านสาธารณสุข และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความเครียดในการทำงาน เพื่อเป็นแนวทางในการ แก้ไขปัญหาความเครียด โดยเก็บข้อมูลบุคลากรที่ทำงานที่สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติพรรณาอธิบายระดับความเครียด และ Chi-square test เพื่อทดสอบปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์ต่อระดับความเครียด ผลการศึกษา พบว่า โดยภาพรวมของบุคลากรสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน ครึ่งหนึ่ง มีความเครียดอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 50 รองลงมาได้แก่ ผู้มีความเครียดสูง ร้อยละ 27 มีเพียงร้อยละ 4 เท่านั้น ที่มีความเครียดในระดับรุนแรง เมื่อพิจารณาตามรายข้อ พบว่า มากกว่าร้อยละ 50 ของ บุคลากรจะไม่รู้สึกเครียดในเรื่องปัญหาสุขภาพเล็กๆ น้อยๆ เช่น เป็นหวัดบ่อยๆ รู้สึกเศร้า ความ อยากเปลี่ยนอาหาร ปวดศรีษะข้างเดียว รู้สึกเหนื่อยง่าย ตั้งสมาธิลำบาก สำหรับปัญหาที่ทำให้มีระดับ ที่มีระดับความเครียดเล็กน้อยคือ กลัวทำงานผิดพลาด (ร้อยละ 54) และปัญหาที่ทำให้มีระดับ ความเครียดมากที่สุด (ร้อยละ 6) คือความกลัวที่ไปไม่ถึงเป้าหมายที่วางไว้ และปัญหาสุขภาพระยะยาว เช่น กล้ามเนื้อตึงและปวดหลัง จากการศึกษา พบว่า ตัวแปรอายุเป็นตัวแปรเพียงตัวเดียวที่มีความสัมพันธ์กับระดับความเครียด ของบุคลากรที่ทำงานที่สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.description.abstractThe objectives of this study were to measure the stress levels of personnel at the ASEAN Institute for Health Development, a health education organization, and to identify the factors affecting such stress levels with a view to reducing them. Basic Statistics and Chi-Square test were used to ascertain the levels of stress, and to find associations between various factors and stress levels. Results showed majority of respondents level (50 %) reported moderate level of stress. Twenty-seven percent had high level of stress and only (4%) had extremely high level of stress. More than half of the respondents reported no stress in the following issue : such as colds, feeling sad, lost of appetite, one side headache, or lack of concentration. Work errors and mistakes were found to be a general cause of mild stress. More severe stress was found to be caused by failure to achieve work targets and goals, and by particular respondents’ own specific health problem (e.g. Fibromyalgia, backache, etc.). The study also found that age was the only factor significantly associated with stress level (α=0.05).en_US
dc.identifier.citationวารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 7, ฉบับที่ 1 (2552), 61-70en_US
dc.identifier.issn1905-1387
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1629
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดล.en_US
dc.rights.holderสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน. มหาวิทยาลัยมหิดล.en_US
dc.subjectความเครียดen_US
dc.subjectStressen_US
dc.subjectบุคลากรen_US
dc.subjectPersonelen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectวารสารสาธารณสุขและการพัฒนาen_US
dc.subjectJournal of Public Health and Developmenten_US
dc.titleระดับความเครียดของบุคลากรสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน
dc.title.alternativeStress levels of Personel of ASEAN Institute for Health Developmenten_US
dc.typeOriginal Articleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ad-ar-pranee-2552.pdf
Size:
1.56 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

Collections