Publication:
A web-based survey on adverse childhood experience, anxiety, depression, sexual behavior affecting methamphetamine use among adolescents in Bangkok, Thailand

dc.contributor.authorMin Htikeen_US
dc.contributor.authorBang-on Theptheinen_US
dc.contributor.authorPrapapun Chucharoenen_US
dc.contributor.authorมิน ไทค์en_US
dc.contributor.authorบังอร เทพเทียนen_US
dc.contributor.authorประภาพรรณ จูเจริญen_US
dc.contributor.otherMahidol University. ASEAN Institute for Health Developmenten_US
dc.date.accessioned2021-05-14T10:23:30Z
dc.date.available2021-05-14T10:23:30Z
dc.date.created2021-05-14
dc.date.issued2017
dc.description.abstractThailand is no longer a major source of illicit drugs but it has become a transit point for drug trafficking among countries in Southeast Asia, East Asia and Oceania. Bangkok is Thailand’s major metropolis where socio-economic status is high and, thus, drug dealers are targeting affluent vocational school students. A cross-sectional web-based study on methamphetamine use among vocational school students (n= 755) was conducted by randomly sampling three schools. The study explored adverse childhood experiences (ACEs), anxiety and depression in Bangkok to predict the associated factors of methamphetamine use. The reliability of the survey instruments for assessing anxiety, depression and ACEs, was tested using Cronbach’s alpha and yielded values of 0.9, 0.9 and 0.8 respectively. Chi-square test was used to assess the level of association between the methamphetamine use and each independent variable. Multiple logistic regression was performed to determine the predictors of methamphetamine use. Among 755 adolescent students aged 16-19 years, 55.0% had at least one ACE, 44.9% had been screened as having anxiety, 44.0% seemed to have depression, and 2.4% reported methamphetamine use in the previous year. After adjusting for socio-demographic factors, sexual risk factors, psychological factors, gender (Adj OR=11.70, 95% CI=1.39-98.28), school strictness on drugs (Adj OR=7.49, 95% CI=1.91-29.44), current house (Adj OR=5.54, 95% CI=1.09-28.26), condom-less first sex (Adj OR=7.28, 95% CI=2.48-21.39), depression (Adj OR=9.61, 95% CI=2.50-36.95) and family violence (Adj OR=6.03, 95% CI=1.96-18.59) were associated with methamphetamine use among adolescents. The study indicates that psychological factors, family violence and sexual risk behaviors increase vulnerability for methamphetamine use among adolescents in Bangkok. However, further qualitative research studies are warranted.en_US
dc.description.abstractประเทศไทยถึงแม้ว่าจะไม่ใช่แหล่งผลิตยาเสพติดที่ผิดกฏหมายแต่เป็นจุดส่งผ่านยาเสพติดระหว่างประเทศในเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออกและโอเชียเนีย โดยมีกรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงที่มีประชากรค่อนข้างมีฐานะทางเศรษฐกิจและ สังคมสูง และนักเรียนอาชีวศึกษาเป็นกลุ่มเป้าหมายหนึ่งที่เป็นผู้เสพยาเสพติด ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อศึกษา พฤติกรรมการใช้เมทแอมเฟตามีน และปัจจัยทำนายได้แก่ประสบการณ์ในวัยเด็กที่ไม่พึงประสงค์ ความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า และพฤติกรรมทางเพศ ของนักเรียนอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร โดยการสุ่มอย่างง่ายจาก 3 สถานศึกษา จำนวน 755 ราย ด้วยวิธีการสำรวจข้อมูลแบบตัดขวางบนเว็บ ค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือวัดความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้าและ ประสบการณ์ ในวัยเด็กที่ไม่พึงประสงค์เท่ากับ 0.9, 0.9 และ 0.8 ตามลำดับ วิเคราห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบไคสแควร์เพื่อหาความสัมพันธ์ ระหว่างการใช้เมทแอมเฟตามีนกับตัวแปรอิสระ ใช้การวิเคราะห์ถดถอยลอจิสติกพหุคูณเพื่อหาตัวทำนายการใช้สารเมท แอมเฟตามีน นักเรียนอาชีวศึกษาจำนวน 755 รายมีอายุระหว่าง 16-19 ปี ร้อยละ 55.0 มีประสบการณ์ในวัยเด็กที่ไม่พึงประสงค์อย่างน้อย หนึ่งประสบการณ์ ร้อยละ 44.9 ได้รับการคัดกรองว่ามีความวิตกกังวล ร้อยละ 44.0 มีความเครียด และร้อยละ 2.4 มีการเสพเมท แอมเฟตามีนในรอบปีที่ผ่านมา หลังจากปรับปัจจัยลักษณะทางสังคม ปัจจัยเสี่ยงทางเพศและปัจจัยทางจิต แล้วพบว่าเพศชาย (Adj OR=11.70, 95% CI= 1.39-98.28)การรับรู้ความเข้มงวดของสถานศึกษา(Adj OR=7.49, 95% CI=1.91-29.44) อาศัยอยู่ บ้านของบิดาและ/หรือมารดา (Adj OR =5.54, 95% CI=1.09-28.26) การไม่ใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ในครั้งแรก (Adj OR=7.28, 95% CI= 2.48-21.39) ความเครียด (Adj OR= .61, 95% CI=2.49-36.95) และมีประสบการณ์ในวัยเด็กเกี่ยวกับความ รุนแรงในครอบครัว (Adj OR=6.03, 95% CI=1.96-18.59) เป็นตัวกำหนดพฤติกรรมการใช้เมทแอมเฟตามีนในนักเรียนอาชีวศึกษา การศึกษานี้ชี้ว่าปัจจัยด้านจิตวิทยาได้แก่ ประสบการณ์ได้รับความรุนแรงจากครอบครัว ความเครียด ประกอบกับพฤติกรรม เสี่ยงทางเพศเป็นการเพิ่มความเปราะบางต่อพฤติกรรมการเสพเมทแอมเฟตามีนของวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร อย่างไรก็ดีควรมี การศึกษาเชิงคุณภาพเพิ่มเติมen_US
dc.identifier.citationJournal of Public Health and Development. Vol. 15, No.3 (Sep-Dec 2017), 17-31en_US
dc.identifier.issn1905-1387
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62161
dc.language.isoengen_US
dc.rightsMahidol Universityen_US
dc.rights.holderASEAN Institute for Health Development Mahidol Universityen_US
dc.subjectadverse childhood experienceen_US
dc.subjectanxietyen_US
dc.subjectdepressionen_US
dc.subjectsexual behavioren_US
dc.subjectmethamphetamine useen_US
dc.subjectadolescentsen_US
dc.subjectประสบการณ์ในวัยเด็กที่ไม่พึงประสงค์en_US
dc.subjectความวิตกกังวลen_US
dc.subjectความเครียดen_US
dc.subjectพฤติกรรมทางเพศen_US
dc.subjectพฤติกรรมการใช้เมทแอมเฟตามีนen_US
dc.subjectวัยรุ่นen_US
dc.titleA web-based survey on adverse childhood experience, anxiety, depression, sexual behavior affecting methamphetamine use among adolescents in Bangkok, Thailanden_US
dc.title.alternativeประสบการณ์ในวัยเด็กที่ไม่พึงประสงค์ ความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า พฤติกรรมทางเพศ และพฤติกรรมการใช้เมทแอมเฟตามีนของวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร ด้วยวิธีการสำรวจข้อมูลบนเว็บen_US
dc.typeOriginal Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he01.tci-thaijo.org/index.php/AIHD-MU/article/view/92366/83210

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ad-ar-bangon-2017-2.pdf
Size:
538.67 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections