Publication: ความต้องการรับบริการทันตกรรมและความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการ ให้บริการของโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในวันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ
Issued Date
2558
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสาร Mahidol R2R e-Journal. ปีที่ 2, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2558), 77-88
Suggested Citation
จุฑาภรณ์ คำโยค, วลัยพร ราชคมน์, วรัญญา เขยตุ้ย, Chuthaporn Khamyok, Walaiporn Ratchakom, Warunya Kheytui ความต้องการรับบริการทันตกรรมและความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการ ให้บริการของโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในวันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ. วารสาร Mahidol R2R e-Journal. ปีที่ 2, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2558), 77-88. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/54089
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ความต้องการรับบริการทันตกรรมและความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการ ให้บริการของโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในวันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ
Alternative Title(s)
A study of Needs and Satisfaction of the Patients’ toward Dental Services of the Dental Hospital, Faculty of Dentistry, Mahidol University on the National Dental Health Care Day
Other Contributor(s)
Abstract
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการมารับบริการทันตกรรม และความพึงพอใจของผู้มารับบริการเนื่องในวันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ ที่โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นผู้มารับบริกาโดยไม่คิดมูลค่าในวันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ.2557 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามความต้องการรับบริการทันตกรรม ในวันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ ที่โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการบริการ และส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะ โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 668 คน นำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ีย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่าผู้มารับบริการมีความต้องการมารับการรักษาทันตกรรมในวันทันตสาธารณสุขแห่งชาติมาด้วยอาการและต้องการรับการรักษาทันตกรรมที่เลือกเป็นลำดับแรก คือ ตรวจฟัน ร้อยละ 43.2 รองลงมาคือ ฟันผุหรือฟันเป็นรู
ร้อยละ 26.0 และถอนฟันหรือผ่าฟันคุด ร้อยละ 20.5 ตามลำดับ ผู้มารับบริการสนใจมารับการรักษาต่อที่โรงพยาบาลทันตกรรม ในระบบการเรียนการสอน ร้อยละ 66.7 ประเภทที่สนใจมารับการรักษามากที่สุดคือ
ขูดหินน้ำลาย ร้อยละ 30.8 รองลงมาคือ อุดฟัน ร้อยละ 26.1 และรักษารากฟัน ร้อยละ 13.3 ตามลำดับ มีผู้มารับบริการอายุตั้งแต่ 10 -76 ปี และผู้รับบริการสามารถมารับการรักษาได้ทุกวันหากนัดล่วงหน้า ร้อยละ 54.4
ส่วนความพึงพอใจต่อการให้บริการของโรงพยาบาลทันตกรรมในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 4.35 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน)
The objective of this study was to investigate patients’ dental service needs and their satisfaction of the dental services on the National Dental Health Care Day at the Dental Hospital, Faculty of Dentistry, Mahidol University on Oct 21st, 2014. A questionnaire used in this study consists of three parts: Part 1- Patient’s general information, Part 2 - Patien satisfaction from the service, and Part 3 - Patients’ suggestions. There were 668 respondents in the study. Data were analyzed by SPSS program for frequency, percentage, mean and standard deviation. The main purposes for coming to the Dental Hospital were the routine dental examination (43.2%) , having cavities (26.0%) , tooth extraction and wisdom tooth removal (20.5%). The respondents were interested in having further treatment with students at the Dental Hospital 66.7%, and the most interested treatments were as the following: scaling (30.8%) , filling (26.1%) and root canal treatment (13.3%). The respondents who received the service were 10-76 years old. In addition, the respondents can come to have the further treatment if appointments are given (54.4%). For the overall patients’ satisfaction, it was at the high level (score = 4.35; from 1 to 5 scale). Keywords: Dental Service Needs, Satisfactions of the Dental Service, National Dental
The objective of this study was to investigate patients’ dental service needs and their satisfaction of the dental services on the National Dental Health Care Day at the Dental Hospital, Faculty of Dentistry, Mahidol University on Oct 21st, 2014. A questionnaire used in this study consists of three parts: Part 1- Patient’s general information, Part 2 - Patien satisfaction from the service, and Part 3 - Patients’ suggestions. There were 668 respondents in the study. Data were analyzed by SPSS program for frequency, percentage, mean and standard deviation. The main purposes for coming to the Dental Hospital were the routine dental examination (43.2%) , having cavities (26.0%) , tooth extraction and wisdom tooth removal (20.5%). The respondents were interested in having further treatment with students at the Dental Hospital 66.7%, and the most interested treatments were as the following: scaling (30.8%) , filling (26.1%) and root canal treatment (13.3%). The respondents who received the service were 10-76 years old. In addition, the respondents can come to have the further treatment if appointments are given (54.4%). For the overall patients’ satisfaction, it was at the high level (score = 4.35; from 1 to 5 scale). Keywords: Dental Service Needs, Satisfactions of the Dental Service, National Dental