Publication: ความไวในการตรวจหาแอนติเจนที่จำเพาะต่อต่อมลูกหมากในน้ำอสุจิด้วยวิธี ELISA
dc.contributor.author | ปริมล เบ็ดเสร็จ | en_US |
dc.contributor.author | สุภาวรรณ เศรษฐบรรจง | en_US |
dc.contributor.author | สุวิทย์ ลิมาวงษ์ปราณี | en_US |
dc.contributor.author | ปัทมา เอกโพธิ์ | en_US |
dc.contributor.author | Parimol Betset | en_US |
dc.contributor.author | Supawon Srettabunjong | en_US |
dc.contributor.author | Suvit Limawongpanee | en_US |
dc.contributor.author | Pattama Ekpo | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ภาควิชานิติเวชศาสตร์ | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ภาควิชาปรสิตวิทย | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ภาควิชาวิทยาภูมิคุ้มกัน | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-09-30T06:43:31Z | |
dc.date.available | 2022-09-30T06:43:31Z | |
dc.date.created | 2565-09-30 | |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาวิธี Enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) ในกาตรวจหาปริมาณแอนติเจนที่จำเพาะต่อต่อมลูกหมากในน้ำอสุจิและศึกษาความไวในการตรวจด้วยวิธีดังกล่าว วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยเชิงการทดลอง (experimental research) โดยใช้ตัวอย่างน้ำอสุจิรวมที่ได้รับการบริจาคจากอาสาสมัครชายไทยที่มีสุขภาพดี งดการมีเพศสัมพันธ์หรือสำเร็จความใคร่ด้วยตนเองอย่างน้อย 5 วัน จำนวน 20 คน อายุ 23-55 ปี ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2554 ตัวอย่างน้ำอสุจิทั้งหมดถูกเก็บไว้ในอุณหภูมิ -80°ซ เพื่อใช้ในการตรวจวิเคราะห์ต่อไป ในการศึกษานี้ใช้วิธีการตรวจหาปริมาณแอนติเจนที่จำเพาะต่อต่อมลูกหมากด้วยวิธี ELISA ตามที่มีผู้รายงานไว้ก่อนล่วงหน้าแล้วโดยดัดแปลงและปรับสภาวะบางอย่างเพื่อให้เหมาะสมต่อการตรวจที่สุด เมื่อคำนึงถึงชนิดของสารละลาย อัตราการเจือจางและส่วนประกอบของสารละลายแต่ละชนิด และระยะเวลาที่ใช้ในการตรวจ จากนั้นจึงทำการศึกษาความไวของการตรวจหาแอนติเจนที่จำเพาะต่อต่อมลูกหมากในน้ำอสุจิ ผลการศึกษา: ผู้วิจัยได้รายงานวิธีการตรวจหาแอนติเจนที่จำเพาะต่อต่อมลูกหมากที่ได้ดัดแปลงและปรับสภาวะให้เหมาะสมสำหรับการตรวจด้วยวิธี ELISA และพบว่าวิธี ELISA สามารถตรวจหาแอนติเจนที่จำเพาะต่อต่อมลูกหมากในน้ำอสุจิที่เจือจาง 1:106 เท่า ที่ความเข้มขันเฉลี่ย 0.56 ± 0.03 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร สรุป: วิธี ELISA เป็นวิธีที่กรระทำได้ง่าย มีความไวและความจำเพาะสูงต่อการตรวจหาแอนติเจนที่จำเพาะต่อต่อมลูกหมากในน้ำอสุจิ จึงเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสำหรับการตรวจพิสูจน์น้ำอสุจิที่ใช้เป็นงานประจำในห้องปฏิบัติการนิติวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะในกรณีที่มีตัวอย่างวัตถุพยานจำนวนมาก และสำหรับการตรวจวิเคราะห์แอนติเจนที่จำเพาะต่อต่อมลูกหมากในการศึกษาวิจัยต่อไปด้วย | en_US |
dc.description.abstract | Background: In rape cases, examination of biological evidence, especially semen, is very important to identify whether the alleged crime actually happened, resulting in solving the case. Prostate-specific antigen (PSA) is an ideal forensic marker for semen identification, and enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) has been described for many years and found to be still one of the sensitive and efficient methods for PSA detection. Objective: The purposes of this study were to optimize the assay conditions regarding reagents used and assay time and to determine its sensitivity for the detection of PSA in semen. Materials and Methods: The semen sample were obtained from 20 consenting healthy Thai male volunteers aged 23-55 years during February – March 2011. All semen samples were stored at -80°C shortly after being secreted from the volunteers’ body and until being used for the analyses. The ELISA method performed in the study followed the previously reported protocol with some optimization. The sensitivity of ELISA in detecting PSA in semen was then studied. Results: An optimal ELISA condition for the detection of PSA was described with consideration for reagents used and assay time. For sensitivity, the authors found that this method was easily capable of detecting PSA in semen diluted approximately 106 fold with the concentration of 0.56 ± 0.03 ng/ml. Conclusion: The optimal conditions of an ELISA method for the detection of PSA in semen described was found to be one of the sensitive and efficient methods for the detection of PSA in semen for routine analysis n forensic laboratories, especially in case of a lot of the evidence examined daily, and for further research analysis. | en_US |
dc.identifier.citation | รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 35, ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2555), 70-78 | en_US |
dc.identifier.issn | 0125-3611 (Print) | |
dc.identifier.issn | 2651-0561 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79758 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | ภาควิชานิติเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | ความไว | en_US |
dc.subject | การตรวจพิสูจน์น้ำอสุจิ | en_US |
dc.subject | แอนติเจนที่จำเพาะต่อต่อมลูกหมาก | en_US |
dc.subject | Enzyme-linked immunosorbent assay | en_US |
dc.subject | Prostate specific antigen | en_US |
dc.subject | Semen indentification Sensitivity | en_US |
dc.title | ความไวในการตรวจหาแอนติเจนที่จำเพาะต่อต่อมลูกหมากในน้ำอสุจิด้วยวิธี ELISA | en_US |
dc.title.alternative | The Sensitivity of the Detection of Prostate Specific Antigen in Semen by ELISA | en_US |
dc.type | Original Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/article/view/117894/90438 | en_US |