Publication: Factors associated with time to start antenatal care within 12 weeks gestational age among mothers in Mahasarakham province, Thailand
Issued Date
2016
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol. 14, No.1 (Jan - Apr 2016), 21-36
Suggested Citation
Prapant Soontornprakasit, Aroonsri Mongkolchati, Jiraporn Chompikul Factors associated with time to start antenatal care within 12 weeks gestational age among mothers in Mahasarakham province, Thailand. Journal of Public Health and Development. Vol. 14, No.1 (Jan - Apr 2016), 21-36. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2417
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors associated with time to start antenatal care within 12 weeks gestational age among mothers in Mahasarakham province, Thailand
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีผลต่อระยะเวลาในการเริ่มฝากครรภ์ภายในช่วงอายุครรภ์ 12 สัปดาห์แรกของมารดา ในจังหวัดมหาสารคาม ประเทศไทย
Other Contributor(s)
Abstract
Time to start antenatal care (ANC) within 12 weeks gestational age (GA) was important to reduce maternal
mortality. This study aimed to determine factors associated with time to start antenatal care within 12
weeks GA among postpartum women in Mahasarakham province. A cross-sectional descriptive study was
conducted among 537 postpartum women delivered in all hospitals of Mahasarakham Province, Thailand
by using stratified sampling with proportion to size method. The self-administered questionnaires were used
for this survey. Data were collected during June 1 to December 15, 2014 by using stratified sampling with
proportional to size method. All cases of postpartum women who delivered in Mahasarakham province were
included, except minority ethnic and illiteracy postpartum women.
This study found that 99.6% postpartum women took at least 1 time to use services at ANC. 50.4%
started ANC within 12 weeks GA and 18.6% were teenage (age<19 years) pregnancies. Only 6.6% had
awareness of right time to start ANC within 12 weeks GA. After adjusted for confounding factors, the
study found that teenage pregnancy was 2.39 times risk of delay ANC compare to adult pregnancy (Adj
OR=2.39, 95% CI= 1.32-4.34) and women with universal health coverage insurance was 1.66 times (Adj
OR=1.66, 95% CI =1.11-2.49) risk of delay ANC compare to the non-UC group.
This study indicated that the first time to start ANC within 12 weeks GA should be greater publicized
and wider campaigned among women of reproductive age especially the teenage group. Moreover, the
reasons that the teenage and universal health coverage group delay ANC utilization should be investigated
more using a qualitative research.
ระยะเวลาในการเริ่มฝากครรภ์ภายในช่วงอายุครรภ์ 12 สัปดาห์แรกของมารดาเป็นสิ่งที่สำคัญที่จะช่วยลดอัตราการ ตายของมารดา การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อระยะเวลาในการเริ่มฝากครรภ์ของมารดาที่อายุ ครรภ์ 12 สัปดาห์ โดยได้ทำการศึกษาในหญิงหลังคลอดที่จังหวัดมหาสารคาม ประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษา แบบภาพตัดขวาง มีผู้เข้าร่วมวิจัยมีทั้งสิ้นจำนวน 537 คน โดยทำการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ โดยเป็นสัดส่วนตามจำนวน ของประชากรในพื้นที่เป้าหมาย ได้ทำการเก็บข้อมูลในระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2557 ถึงวันที่ 15 ธันวาคม 2557 กลุ่ม ตัวอย่างตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง มารดาคลอดทุกคนในจังหวัดมหาสารคามจะถูกคัดเลือกเข้าร่วมเป็นกลุ่มตัวอย่าง ยกเว้นมารดาตั้งครรภ์ที่ไม่สามารถสื่อสารหรือกลุ่มมารดาที่ไม่ใช่สัญชาติไทย การศึกษาครั้งนี้พบว่า มารดาที่เป็นกลุ่มเป้าหมายมาฝากครรภ์ อย่างน้อย 1 ครั้ง มีจำนวนร้อยละ 99.6 และมีจำนวน ร้อยละ 50.4 เริ่มฝากครรภ์ในช่วงอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 18.6 เป็นมารดาตั้งครรภ์ในช่วงอายุยังเป็นวัยรุ่น (อายุ น้อยกว่า 20 ปี) ความตระหนักถึงการฝากครรภ์ภายในช่วงอายุครรภ์ 12 สัปดาห์แรก พบว่ามีเพียงร้อยละ 6.6 หลังจาก การวิเคราะห์การถดถอยลอจิสติกพหุคูณ โดยได้มีการปรับด้วยอิทธิพลของปัจจัยกวนแล้วพบว่า การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมี ความเสี่ยงสูงมากกว่ามารดาในกลุ่มผู้ใหญ่ ถึง 2.39 เท่า (Adj. OR=2.39, 95% CI= 1.32-4.34) และพบว่า มารดาที่ได้ รับสิทธิ์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า มีแนวโน้มสูงถึง 1.66 เท่าที่จะฝากครรภ์ช้า เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับสิทธิ์หลัก ประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Adj. OR=1.66, 95% CI =1.11-2.49) การศึกษาครั้งนี่บ่งชี้ว่า ระยะเวลาในการเริ่มฝากครรภ์ ภายในช่วง 12 สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์ ควรจะได้รับการประชาสัมพันธ์ และเห็นควรส่งเสริมให้เกิดการรณรงค์นี้ ในกล่มุ หญงิ วยั เจรญิ พันธ์ุ โดยเฉพาะหญงิ วยั ร่นุ นอกจากนนั้ กล่มุ มารดาทไี่ ด้รับบตั รประกนั สขุ ภาพตามสทิ ธหิ ลกั ประกนั สุขภาพควรได้รับความรู้เกี่ยวกับการฝากครรภ์ในระยะเวลาที่เหมาะสม แต่อย่างไรก็ตามในการวิจัยเชิงคุณภาพครั้งต่อไป กลุ่มเสี่ยงที่สำคัญ ทั้งมารดาวัยรุ่นและกลุ่มมารดาที่ได้รับสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าควรได้ทำการศึกษาถึงสาเหตุ ที่แท้จริงของการมาฝากครรภ์ช้าต่อไป
ระยะเวลาในการเริ่มฝากครรภ์ภายในช่วงอายุครรภ์ 12 สัปดาห์แรกของมารดาเป็นสิ่งที่สำคัญที่จะช่วยลดอัตราการ ตายของมารดา การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อระยะเวลาในการเริ่มฝากครรภ์ของมารดาที่อายุ ครรภ์ 12 สัปดาห์ โดยได้ทำการศึกษาในหญิงหลังคลอดที่จังหวัดมหาสารคาม ประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษา แบบภาพตัดขวาง มีผู้เข้าร่วมวิจัยมีทั้งสิ้นจำนวน 537 คน โดยทำการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ โดยเป็นสัดส่วนตามจำนวน ของประชากรในพื้นที่เป้าหมาย ได้ทำการเก็บข้อมูลในระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2557 ถึงวันที่ 15 ธันวาคม 2557 กลุ่ม ตัวอย่างตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง มารดาคลอดทุกคนในจังหวัดมหาสารคามจะถูกคัดเลือกเข้าร่วมเป็นกลุ่มตัวอย่าง ยกเว้นมารดาตั้งครรภ์ที่ไม่สามารถสื่อสารหรือกลุ่มมารดาที่ไม่ใช่สัญชาติไทย การศึกษาครั้งนี้พบว่า มารดาที่เป็นกลุ่มเป้าหมายมาฝากครรภ์ อย่างน้อย 1 ครั้ง มีจำนวนร้อยละ 99.6 และมีจำนวน ร้อยละ 50.4 เริ่มฝากครรภ์ในช่วงอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 18.6 เป็นมารดาตั้งครรภ์ในช่วงอายุยังเป็นวัยรุ่น (อายุ น้อยกว่า 20 ปี) ความตระหนักถึงการฝากครรภ์ภายในช่วงอายุครรภ์ 12 สัปดาห์แรก พบว่ามีเพียงร้อยละ 6.6 หลังจาก การวิเคราะห์การถดถอยลอจิสติกพหุคูณ โดยได้มีการปรับด้วยอิทธิพลของปัจจัยกวนแล้วพบว่า การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมี ความเสี่ยงสูงมากกว่ามารดาในกลุ่มผู้ใหญ่ ถึง 2.39 เท่า (Adj. OR=2.39, 95% CI= 1.32-4.34) และพบว่า มารดาที่ได้ รับสิทธิ์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า มีแนวโน้มสูงถึง 1.66 เท่าที่จะฝากครรภ์ช้า เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับสิทธิ์หลัก ประกันสุขภาพถ้วนหน้า (Adj. OR=1.66, 95% CI =1.11-2.49) การศึกษาครั้งนี่บ่งชี้ว่า ระยะเวลาในการเริ่มฝากครรภ์ ภายในช่วง 12 สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์ ควรจะได้รับการประชาสัมพันธ์ และเห็นควรส่งเสริมให้เกิดการรณรงค์นี้ ในกล่มุ หญงิ วยั เจรญิ พันธ์ุ โดยเฉพาะหญงิ วยั ร่นุ นอกจากนนั้ กล่มุ มารดาทไี่ ด้รับบตั รประกนั สขุ ภาพตามสทิ ธหิ ลกั ประกนั สุขภาพควรได้รับความรู้เกี่ยวกับการฝากครรภ์ในระยะเวลาที่เหมาะสม แต่อย่างไรก็ตามในการวิจัยเชิงคุณภาพครั้งต่อไป กลุ่มเสี่ยงที่สำคัญ ทั้งมารดาวัยรุ่นและกลุ่มมารดาที่ได้รับสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าควรได้ทำการศึกษาถึงสาเหตุ ที่แท้จริงของการมาฝากครรภ์ช้าต่อไป