Publication: ประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพรกลีเซอรีนพญายอและสมุนไพรน้ำมันเมล็ดมะรุมต่อการเพิ่มจำนวนของเซลล์สร้างเส้นใยของเหงือกมนุษย์
Accepted Date
2014-05-16
Issued Date
2014-09
Resource Type
Language
tha
ISSN
0125-5614 (printed)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
Choonate S, Korsuwannawong S, Chairatvit K. Evaluation of the proliferative effect of clinacanthus nutans glycerine and moringa oleifera seed oil extraction on human gingival fibroblast cell line. M Dent J. 2014; 34(3): 373-84.
Suggested Citation
Sirinthip Choonate, ศิรินทิพย์ ชูเนตร, Suwanna Korsuwannawong, สุวรรณา ก่อสุวรรณวงศ์, Kongthawat Chairatvit, คงธวัช ชัยรัชวิทย์ ประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพรกลีเซอรีนพญายอและสมุนไพรน้ำมันเมล็ดมะรุมต่อการเพิ่มจำนวนของเซลล์สร้างเส้นใยของเหงือกมนุษย์. Choonate S, Korsuwannawong S, Chairatvit K. Evaluation of the proliferative effect of clinacanthus nutans glycerine and moringa oleifera seed oil extraction on human gingival fibroblast cell line. M Dent J. 2014; 34(3): 373-84.. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1067
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพรกลีเซอรีนพญายอและสมุนไพรน้ำมันเมล็ดมะรุมต่อการเพิ่มจำนวนของเซลล์สร้างเส้นใยของเหงือกมนุษย์
Alternative Title(s)
Evaluation of the proliferative effect of clinacanthus nutans glycerine and moringa oleifera seed oil extraction on human gingival fibroblast cell line.
Corresponding Author(s)
Abstract
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการออกฤทธิ์ของสารสกัดสมุนไพรกลีเซอรีนพญายอและสมุนไพร
น้ำมันเมล็ดมะรุมในด้านความเป็นพิษ และการกระตุ้นการแบ่งตัวของเซลล์สร้างเส้นใยของ
เหงือกมนุษย์
อุปกรณ์และวิธีการศึกษา: นำเซลล์เหงือกไฟโบรบลาสท์ชนิดต่อเนื่อง มาเพาะเลี้ยงในตู้อบ
ควบคุมอัตราการไหลของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ 37 องศาเซลเซียส 5% ก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ ความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 100 จนได้เซลล์ชั้นเดียว นำมาย่อยด้วยทริปซิน
อีดีทีเอร้อยละ 0.25 ให้เป็นเซลล์เดี่ยวๆ นำเซลล์มาใส่เพลทชนิด 96 หลุมๆละ 1x104 เซลล์
นำเพลทมาบ่มในตู้อบ เป็นเวลา 24 ชม. และนำสารทดสอบสมุนไพรทั้ง 2 ชนิด มาศึกษา
ประเมินความเป็นพิษ โดยวิธี MTT และนำเซลล์มาใส่เพลทชนิด 96 หลุมๆละ 5x103 เซลล์
จำนวน 5 เพลท/สมุนไพร ภายหลังจากใส่สารทดสอบสมุนไพร นำเพลทมาบ่มในตู้ เป็นเวลา
2, 4, 6, 8 และ 10 วัน เพื่อศึกษาการแบ่งตัวของเซลล์ของเซลล์ในแต่ละช่วงเวลา โดยการ
ย้อมเซลล์ด้วย SRB (Sulforhodamine B ) โดยให้สารทดสอบสมุนไพรแต่ละชนิดมีความ
เข้มข้นร้อยละ 0.01, 0.1 และ 0.5 (ปริมาตร/ปริมาตร) ส่วนกลุ่มควบคุมใส่อาหารเลี้ยงเซลล์
ดีเอ็มอีเอ็มอย่างเดียว ทำการศึกษาการแบ่งตัวของเซลล์เป็นระยะเวลา 10 วัน
ผลการทดลอง: ด้านประเมินความเป็นพิษของสารสกัดสมุนไพรกลีเซอรีนพญายอและ
สมุนไพรน้ำมันเมล็ดมะรุมที่ความเข้นข้นร้อยละ 0.01, 0.1 และ 0.5 พบว่าร้อยละ ความมี
ชีวิตของเซลล์ต่อสมุนไพรกลีเซอรีนพญายอเท่ากับ 104.08±4.90, 104.48±3.2 และ97.55±
2.5 เรียงตามลำดับ ส่วนสมุนไพรน้ำมันเมล็ดมะรุมเท่ากับ 108.55±4.10, 110.36±3.31
และ107.60±2.6 เรียงตามลำดับ ด้านการแบ่งตัวของเซลล์ต่อสมุนไพรกลีเซอรีนพญายอ พบ
ว่า ที่ความเข้มข้นร้อยละ 0.01, 0.1 และ 0.5 มีฤทธิ์กระตุ้นการแบ่งตัวของเซลล์ในวันที่ 8
โดยมีเปอร์เซนต์การแบ่งตัวของเซลล์ของเซลล์ (% cell Proliferation) เท่ากับ 117.85±
10.37, 125±14.31 และ 130.35±11.35 เรียงตามลำดับ ซึ่งสูงกว่ากลุ่มควบคุม เท่ากับ
100 (P<0.05) ส่วนการแบ่งตัวของเซลล์ต่อสมุนไพรน้ำมันเมล็ดมะรุม พบว่า ที่ความเข้มข้น
ร้อยละ 0.01, 0.1 และ 0.5 มีฤทธิ์กระตุ้นการแบ่งตัวของเซลล์ในวันที่ 8 โดยมีเปอร์เซนต์การ
แบ่งตัวของเซลล์ เท่ากับ 104.28±10.57, 114.28±15.35 และ118.57±11.35 เรียงตาม
ลำดับ ซึ่งสูงกว่ากลุ่มควบคุม เท่ากับ 100 (P<0.05)
บทสรุป: สารสกัดสมุนไพรกลีเซอรีนพญายอและสมุนไพรน้ำมันเมล็ดมะรุม ที่ความเข้มข้น
ร้อยละ 0.01, 0.1 และ 0.5 ไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์สร้างเส้นใยของเหงือกมนุษย์ ส่วนการ
ศึกษาฤทธิ์การแบ่งตัวของเซลล์มีการเพิ่มจำนวนเซลล์จากสารทดสอบ ทำให้ผลที่ได้มีแนวโน้ม
ที่จะนำไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับรักษาโรคในช่องปากได้ โดยสารมีฤทธิ์ในการกระตุ้น
การแบ่งตัวของเซลล์ (cell proliferation)ด้วย
Objective: Clinacanthus nutans glycerine and Moringa oleifera seed oil are commonly used as herbal medicines in Thailand. Previous studies have shown the anti-inflammatory effects and promotion of the wound healing process. However, there is no study for both extracts on oral cells. The aim of this work is; therefore, to study the proliferative effect of both herbal Thai Medicine on Human Gingival Fibroblast (HGF) cell line. Materials and methods: HGF cells were treated with herbal extracts at concentrations of 0.01, 0.1 and 0.5% (V/V). Cytotoxicity was evaluated by MTT assay. Sulforhodamine B (SRB) standard staining method was used to monitor cell proliferation for 10 days after treatment with various concentrations of herbal extracts. Results: Both herbal extracts showed no toxicity to HGF cultures in all tested concentrations. the result of Clinacanthus nutans glycerine and Moringa oleifera seed oil extractions at concentrations of 0.01, 0.1 and 0.5% (V/V) the percentage of cell viability was 102, 105, 99 and 108, 110, 105, repectively. However, both extracts promoted cell proliferation by the concentrationdependent manner. Clinacanthus nutans glycerine showed 117.85%, 125.00% and 130.35% proliferative rates (P<0.05) compared to the control at concentrations of 0.01, 0.1 and 0.5% (V/V), repectively. showed significantly increased cell proliferation compared with the control group (P<0.05). Moringa oleifera seed oil showed a slightly lower proliferative effect on HGF (104.28%, 114.28% and 118.57% at concentrations of 0.01, 0.1 and 0.5% (V/V), repectively) compared to that of Clinacanthus nutans glycerine. Conclusion: The result suggests that these two Thai medicinal plant extracts promote cell proliferation and might be able to use as a potential medicines for wound healing process on periodontal diseases.
Objective: Clinacanthus nutans glycerine and Moringa oleifera seed oil are commonly used as herbal medicines in Thailand. Previous studies have shown the anti-inflammatory effects and promotion of the wound healing process. However, there is no study for both extracts on oral cells. The aim of this work is; therefore, to study the proliferative effect of both herbal Thai Medicine on Human Gingival Fibroblast (HGF) cell line. Materials and methods: HGF cells were treated with herbal extracts at concentrations of 0.01, 0.1 and 0.5% (V/V). Cytotoxicity was evaluated by MTT assay. Sulforhodamine B (SRB) standard staining method was used to monitor cell proliferation for 10 days after treatment with various concentrations of herbal extracts. Results: Both herbal extracts showed no toxicity to HGF cultures in all tested concentrations. the result of Clinacanthus nutans glycerine and Moringa oleifera seed oil extractions at concentrations of 0.01, 0.1 and 0.5% (V/V) the percentage of cell viability was 102, 105, 99 and 108, 110, 105, repectively. However, both extracts promoted cell proliferation by the concentrationdependent manner. Clinacanthus nutans glycerine showed 117.85%, 125.00% and 130.35% proliferative rates (P<0.05) compared to the control at concentrations of 0.01, 0.1 and 0.5% (V/V), repectively. showed significantly increased cell proliferation compared with the control group (P<0.05). Moringa oleifera seed oil showed a slightly lower proliferative effect on HGF (104.28%, 114.28% and 118.57% at concentrations of 0.01, 0.1 and 0.5% (V/V), repectively) compared to that of Clinacanthus nutans glycerine. Conclusion: The result suggests that these two Thai medicinal plant extracts promote cell proliferation and might be able to use as a potential medicines for wound healing process on periodontal diseases.
Keyword(s)
Clinacanthus nutans glycerine
HGF cell line
Moringa oleifera seed oil
MTT assay
Periodontal diseases
Proliferation
Wound healing
สมุนไพรกลีเซอรีนพญายอ
เซลล์สร้างเส้นใยของเหงือกมนุษย์
สมุนไพรน้ำมันเมล็ดมะรุม
การทดสอบหาความมีชีวิตของเซลล์
โรคปริทันต์
การแบ่งตัวของเซลล์ในการเพิ่มจำนวนเซลล์
การสมานแผล
Open Access article
วิทยาสารทันตแพทยศาสตร์มหิดล
Mahidol Dental Journal
HGF cell line
Moringa oleifera seed oil
MTT assay
Periodontal diseases
Proliferation
Wound healing
สมุนไพรกลีเซอรีนพญายอ
เซลล์สร้างเส้นใยของเหงือกมนุษย์
สมุนไพรน้ำมันเมล็ดมะรุม
การทดสอบหาความมีชีวิตของเซลล์
โรคปริทันต์
การแบ่งตัวของเซลล์ในการเพิ่มจำนวนเซลล์
การสมานแผล
Open Access article
วิทยาสารทันตแพทยศาสตร์มหิดล
Mahidol Dental Journal