Publication: ปัจจัยทางพฤติกรรมการดูแลฟันเด็กของผู้เลี้ยงดูเด็กที่มีอิทธิพลต่อการผุของฟันน้ำนมในเด็กวัยก่อนเรียนอายุ 3-4 ปี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตำบลบางพระ อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา
Issued Date
2551
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
73423 bytes
Rights
Mahidol University
Bibliographic Citation
วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 38, ฉบับที่ 3 (2551), 297-303
Suggested Citation
วันวิสา ดำริมุ่งกิจ, นันท์นภัส ภัคะมาน, กุลยา นาคสวัสดิ์ ปัจจัยทางพฤติกรรมการดูแลฟันเด็กของผู้เลี้ยงดูเด็กที่มีอิทธิพลต่อการผุของฟันน้ำนมในเด็กวัยก่อนเรียนอายุ 3-4 ปี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตำบลบางพระ อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 38, ฉบับที่ 3 (2551), 297-303. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2326
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ปัจจัยทางพฤติกรรมการดูแลฟันเด็กของผู้เลี้ยงดูเด็กที่มีอิทธิพลต่อการผุของฟันน้ำนมในเด็กวัยก่อนเรียนอายุ 3-4 ปี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตำบลบางพระ อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา
Alternative Title(s)
Factor relating to oral health behavior of caregivers affected caries status in primary teeth among preschool children 3-4 years old : A cass study in Daycare Centers, Bangpra District, Chachoengsao Province, Thailand
Other Contributor(s)
Abstract
การศึกษาวิจัยเชิงสำรวจในผู้เลี้ยงดูเด็กและเด็กวัยก่อนเรียน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่งปัจจัยทางพฤติกรรมการดู้แลฟันเด็กเล็กของผู้เลี้ยงดูเด็กกับสภาวำการผุของฟันน้ำนมในเด็กเล็กด้วยขนาดของตัวอย่าง 123 คน โดยการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง จากศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตำบลบางพระ อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 3 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดบางพระ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดโพธาราม และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดบางปรง เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามผู้เลี้ยงดูเด็กซึ่งเป็นผู้ที่ใกล้ชิดเด็กมากที่สุดในเรื่องของความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตนในการดูแลฟันเด็กเล็กที่ผ่านมาและการตรวจสภาวะฟันน้ำนมผุของเด็กเล็กในความดูแล ผลการศึกษาพบอัตราเด็กที่ไม่มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 24.4 โดยมีค่าเฉลี่ยฟันผุอุดถอนเท่ากับ 5.00 +- 4.91 ซี่ต่อคน ประกอบด้วยค่าเฉลี่ยฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษา 4.79 +- 4.64 ค่าเฉลี่ยฟันผุที่อุดเรียบร้อยแล้ว 0.10 +- 0.61 ซี่ต่อคน และค่าเฉลี่ยฟันถอนเพราะผุ 0.11 +- 0.45 ซี่ต่อคนต่อปี พบปัจจัยทางพฤติกรรมการดูแลฟันเด็กเล็กของผู้เลี้ยงดูเด็กที่มีนัยสำคัญทางสถิติเพียงปัจจัยเดียวได้แก่ การที่ผู้ปกครองปล่อยให้เด็กมีพฤติกรรมชอบนอนหลับพร้อมขวดนมในปาก โดยเด็กวัยก่อนเรียนที่นอนหลับพร้อมขวดนมในปากเป็นประจำมีความเสี่ยงต่อการมีฟันผุอย่างน้อย 1 ซี่เป็น 2.87 เท่า (OR = 2.87, 95% CI = 1.02 - 8.09 p-value = 0.04) เมื่อเทียบกับเด็กที่ไม่ได้ทำและไม่ค่อยได้ทำพฤติกรรมนี้ จากผลการศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญและความจำป็นในการเพิ่มบริการสร้างเสริมสุขภาพในช่องปากสำหรับเด็กเล็ก โดยการกำหนดกิจกรรมแก่มารดาหรือผู้เลี้ยงดูเด็กตามโอกาสที่มีอยู่ให้เข้มข้นขึ้น เช่น กิจกรรมในคลินิกฝากครรภ์และคลินิกเด็กดี เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เลี้ยงดูเด็กเห็นความสำคัญในการดูแลฟันน้ำนมของเด็ก
A cross sectional study was conducted to assess association between factors relating to oral health behaviors of caregivers and dental caries status in primary teeth in preschool children. With the total sample size of 123 preschool children aged 3-4 years, purposive sampling was used to select from three daycare centers in Bangpra District, Chachoengsao Province, Thailand. A questionnaire was used for interviewing caregivers of preschool children; oral health examination was done by using decay teeth, missing teeth and filled teeth index (dmft). Results demonstrated that the proportion of caries free among this group of preschool children was 24.4% with means dmft being 5.00 ? 4.91 teeth per person. Decayed teeth without treatment were 4.79 ? 4.64 teeth per person. Significant oral health behaviors of caregivers associated with having dental caries in at least one tooth was that the child had a bottle of milk while sleeping (OR = 2.87, 95% CI = 1.02 - 8.09, p-value = 0.04). This study suggests making improvement in oral health promotion activities for parents or caregivers in well baby clinic to increase knowledge and to raise awareness of the importance of primary dentition among this group of preschool children.
A cross sectional study was conducted to assess association between factors relating to oral health behaviors of caregivers and dental caries status in primary teeth in preschool children. With the total sample size of 123 preschool children aged 3-4 years, purposive sampling was used to select from three daycare centers in Bangpra District, Chachoengsao Province, Thailand. A questionnaire was used for interviewing caregivers of preschool children; oral health examination was done by using decay teeth, missing teeth and filled teeth index (dmft). Results demonstrated that the proportion of caries free among this group of preschool children was 24.4% with means dmft being 5.00 ? 4.91 teeth per person. Decayed teeth without treatment were 4.79 ? 4.64 teeth per person. Significant oral health behaviors of caregivers associated with having dental caries in at least one tooth was that the child had a bottle of milk while sleeping (OR = 2.87, 95% CI = 1.02 - 8.09, p-value = 0.04). This study suggests making improvement in oral health promotion activities for parents or caregivers in well baby clinic to increase knowledge and to raise awareness of the importance of primary dentition among this group of preschool children.