Publication: Assessment of patient satisfaction at a traditional medicine hospital in Nepal
dc.contributor.author | Aroonsri Mongkolchati | en_US |
dc.contributor.author | Cheerawit Rattanapan | en_US |
dc.contributor.author | Somsak Wongsawass | en_US |
dc.contributor.other | Mahidol University. ASEAN Institute for Health Development | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-10-22T07:44:36Z | |
dc.date.accessioned | 2017-03-31T02:35:42Z | |
dc.date.available | 2015-10-22T07:44:36Z | |
dc.date.available | 2017-03-31T02:35:42Z | |
dc.date.created | 2015-10-22 | |
dc.date.issued | 2012 | |
dc.description.abstract | This cross-sectional descriptive study was conducted regarding patient satisfaction with outpatient department (OPD) services at Naradevi Ayurveda hospital in Kathmandu, Nepal. A structured questionnaire was administered to 296 patients attending the OPD during February, 2012. The respondents were aged 18 years and above. Chi-square tests and multiple logistic regression were performed to analyze the associations between inde- pendent and dependent variables. The results show that most of the respondents (74.7%) had low level of satisfaction, and 25.3% of them had a high level of satisfaction. Other selected variables such as distance from home to hospital, long waiting time, adequate length of service hours of the OPD and actual expectations were significantly associated with patient satisfaction (p<0.05). After adjusting the potential factors, it was found that patients who had a low monthly income were more likely to have high satisfaction with the OPD services (OR=2.65, 95%CI=1.38-5.11). Patients who had to wait only a short time (OR=2.19, 95%CI=1.16-4.16) or who reported adequate service time (OR=2.53, 95%CI=1.35-4.75) were more likely to have a high level of satisfaction with OPD services. In conclusion, low income, waiting time and service hours of OPD were the main predictors of satisfaction with OPD services. Hence, providing the health insurance scheme, increasing access to services at all levels of health institution, providing quick services, and increasing the length of OPD service hours can help to increase the level of patient satisfaction with the traditional health care system. Further qualitative and follow-up studies to further improve the quality of care are also recommended. | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาแบบภาคตัดขวางนี้เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการบริการของแผนกผู้ป่วยนอกของ โรงพยาบาลอยุรเวดิในเมืองกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล โดยทำการศึกษาในผู้ป่วยที่อายุ 18 ปีขึ้นไป จำนวน 296 คน ที่เข้ามารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอกในระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ 2555 ด้วยแบบสอบถามเชิงโครงสร้าง ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นและตัวแปรตามโดยใช้การทดสอบไค-สแควร์ (Chi-Square Test) และการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก (Multiple logistic regression) ผลจากการศึกษา พบว่า ร้อยละ 74.7 ของผู้ป่วยมีความพึงพอใจระดับต่ำ และร้อยละ 25.3 ของผู้ป่วยมีความ พึงพอใจสูง ทั้งนี้ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพึงใจของผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญ ได้แก่ ระยะทางจากบ้านถึง โรงพยาบาล ระยะเวลาของการรอ ช่วงเวลาที่ได้รับบริการ และความคาดหวังของผู้รับบริการ (p-value<0.05) นอกจากนี้ยัง พบอีกว่า ผู้ป่วยที่มีระดับรายได้ต่อเดือนน้อยนั้นมีโอกาสสูง ที่จะมีความพึงพอใจสูง ต่อการเข้ารับบริการ ในแผนกผู้ป่วยนอก (OR=2.65, 95%CI=1.38-5.11) และผู้ป่วยที่มีระยะเวลาในการรอรับบริการสั้น (OR=2.19, 95%CI=1.16-4.16) หรือเวลาที่ได้รับบริการเพียงพอ (OR=2.53, 95%CI=1.35-4.75) นั้นมีโอกาสสูงที่จะมีความ พึงพอใจสูงต่อการเข้ารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก ผลการศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่าปัจจัยด้านรายได้ ระยะเวลาในการรอ และช่วงเวลาที่ได้รับบริการในแผนกผู้ป่วย นอกนั้นเป็นปัจจัยที่สามารถนำไปใช้ในการทำนายความพึงพอใจของผู้ป่วยที่เข้ารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอกได้ ดังนั้น การประกันสุขภาพ การเพิ่มการเข้าถึงบริการในทุกระดับ การรับบริการอย่างรวดเร็ว การเพิ่มเวลาในการ รับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกจะสามารถช่วยในการยกระดบั ความพึงพอใจของผู้ป่วยที่เข้าการบริการในระบบบริการ สุขภาพแพทย์แผนโบราณ นอกจากนี้ควรได้มีการศึกษาเชิงคุณภาพและการศึกษาแบบติดตามระยะยาว จะเป็นการ ช่วยพัฒนาการปรับปรุงคุณภาพในการให้การบริการอย่างต่อเนื่องได้ | |
dc.identifier.citation | Journal of Public Health and Development. Vol.10, No.3 (2012),17-29 | en_US |
dc.identifier.issn | 1905-1387 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1577 | |
dc.language.iso | eng | en_US |
dc.rights | Mahidol University | en_US |
dc.rights.holder | ASEAN Institute for Health Development Mahidol University | en_US |
dc.subject | Patient satisfaction | en_US |
dc.subject | Outpatient | en_US |
dc.subject | Traditional medicine | en_US |
dc.subject | Ayurveda | en_US |
dc.subject | Department services | en_US |
dc.subject | Nepal | en_US |
dc.subject | Open Access article | en_US |
dc.subject | Journal of Public Health and Development | en_US |
dc.subject | วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา | en_US |
dc.title | Assessment of patient satisfaction at a traditional medicine hospital in Nepal | en_US |
dc.title.alternative | การประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยในโรงพยาบาล แพทย์แผนโบราณในประเทศเนปาล | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication |