Publication:
โปรแกรมการดูแลตนเองสําหรับผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดสลายต่อกระจกและ เปลี่ยนเลนส์แก้วตาเทียม คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล

dc.contributor.authorวิภา พนัสนาชีen_US
dc.contributor.authorมลินี สมภพเจริญen_US
dc.contributor.authorธราดล เก่งการพานิชen_US
dc.contributor.authorลักขณา เติมศิริกุลชัยen_US
dc.contributor.authorWipa Panatnacheeen_US
dc.contributor.authorMalinee Sompopcharoenen_US
dc.contributor.authorTharadol Kengkarnpanichen_US
dc.contributor.authorLakkhana Termsirikulchaien_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2021-01-07T16:05:12Z
dc.date.available2021-01-07T16:05:12Z
dc.date.created2564-01-07
dc.date.issued2556
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการประยุกต์ทฤษฏีการรับรู้ ความสามารถตนเองร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม ในการจัดโปรแกรมการดูแลตนเองสำหรับผู้ป่วยผ่าตัด สลายต้อกระจกและเปลี่ยนเลนส์แก้วตาเทียม คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ เจาะจง จำนวน 88 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 44 ราย ซึ่งกลุ่มทดลองได้เข้าร่วม โปรแกรมการดูแลตนเองที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบไม่ได้เข้าร่วมโปรแกรม เก็บข้อมูลโดยใช้แบบ สัมภาษณ์ความรู้ การรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในประสิทธิผลการดูแลตนเอง และพฤติกรรม การดูแลตนเองหลังผ่าตัด ก่อนและหลังการทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน t – test และ Repeated Measure one way ANOVA ผลการศึกษา พบว่า ภายหลังการทดลองกลุ่ม ทดลองมีการเปลี่ยนแปลงด้านความรู้ การรับรู้ความสามารถตนเอง และความคาดหวังในประสิทธิผลของการ ดูแลตนเอง เพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนการทดลองและมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทุกตัวแปร (p<0.001) และผลการติดตามพฤติกรรมการดูแลตนเองหลังผ่าตัด 3 ครั้ง คือ วันก่อนกลับบ้าน มาตรวจตาม นัด 1 สัปดาห์และ 1 เดือนหลังการผ่าตัด พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลตนเองมากกว่า กลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้ง 3 ครั้ง (วันก่อนกลับบ้าน p < 0.005, 1 สัปดาห์ และ 1 เดือน หลังผ่าตัด p<0.001) จึงเห็นได้ว่า การจัดโปรแกรมการดูแลตนเองในครั้งนี้ ทำให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมในการดูแล ตนเองที่ถูกต้องสม่ำเสมอen_US
dc.description.abstractThe purpose of this quasi-experimental research was to explore the effectiveness of the application of the perceived self-efficacy concept in association with social support in the implementation of a self-care program for phacoemulsification with intraocular lens patients in Faculty of Medicine, Vajira Hospital. The samples were purposively selected and consisted of 88 people, half were allocated to the experimental group and half were allocated to the comparison group. The experimental group participated in the self-care program developed by the researcher, while the comparison group did not. Data were collected by using scheduled interviews, knowledge measurement, perceived self-efficacy, perceived outcome expectation and self-care behaviors postsurgery before and after the experiment. Then, the data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, t-test, and repeated measures ANOVA. The findings of the study revealed that after the experiment knowledge, perceived self-efficacy, and outcome expectations of the experimental group were higher than before the experiment and those of the comparison group with statistical significance overall (p < 0.001). According to three follow-ups on self-care behaviors after the surgery, including pre-discharge, a one-week follow-up appointment, and a one-month follow-up appointment after surgery, mean scores of self-care behaviors of the experimental group were higher than those of the comparison group with statistical significance (pre-discharge day: p =< 0.005, one week and one-month follow-up appointments: p < 0.001). The results indicated that the self-care program encouraged patients to have proper self-care behaviors.en_US
dc.identifier.citationวารสารสุขศึกษา. ปีที่ 36, ฉบับที่ 125 (ก.ค.- ธ.ค. 2556), 42-56en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/60678
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectผู้ป่วยโรคต้อกระจกen_US
dc.subjectการรับรู้ความสามารถตนเองen_US
dc.subjectแรงสนับสนุนทางสังคมen_US
dc.subjectการดูแลตนเองen_US
dc.subjectCataract patientsen_US
dc.subjectSelf-efficacyen_US
dc.subjectSocial supporten_US
dc.subjectSelf-careen_US
dc.titleโปรแกรมการดูแลตนเองสําหรับผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดสลายต่อกระจกและ เปลี่ยนเลนส์แก้วตาเทียม คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาลen_US
dc.title.alternativeSelf-Care Program for Phacoemulsification with Intraocular Lens Patiens, Faculty of Medicine Vajira Hospitalen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-malinee-2556.pdf
Size:
2.33 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections