Publication: Embarking upon the reformation of mainstream education for children with moderate cognitive disabilities in Thailand: A qualitative analysis from the key stakeholders
Issued Date
2553
Resource Type
Language
eng
ISSN
1686-6959
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 6, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2553), 4-25
Suggested Citation
ปรียาสิริ มานะสันต์ Embarking upon the reformation of mainstream education for children with moderate cognitive disabilities in Thailand: A qualitative analysis from the key stakeholders. วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 6, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2553), 4-25. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1359
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Embarking upon the reformation of mainstream education for children with moderate cognitive disabilities in Thailand: A qualitative analysis from the key stakeholders
Alternative Title(s)
การริเริ่มการปฎิรูปการศึกษาสายหลักสำหรับเด็กผู้มีความบกพร่องทางสติปัญญา ระดับทุติยภูมิในประเทศไทย: การวิเคราะห์เชิงคุณภาพจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
The purpose of this case study was to explore educational policy and practices for educating students with moderate cognitive disabilities in segregated and inclusive schools in Thailand. This study utilized constructivist research methodology to examine the perspectives of parents, teachers, and school administrators who are involved in educating these children at two schools in Bangkok, Thailand. The schools in this research were selected because they represent two completely different models of a segregated school and a pilot inclusive school for students with moderate cognitive disabilities.
Qualitative methods of data collection and a constant comparative method of data analysis were used. The researcher conducted open-ended interviews with teachers, administrators, and parents whose children attended each school. The interview questions were designed to provide insight into what the parents, teachers, and administrators perceived about the common practices used in the schools. In addition, field notes and observation notes from interviews and parent-teacher meetings were collected and analyzed regarding similarities and differences in methods of teaching. The researcher targeted a total of eight teachers and six administrators to participate in the interviews. Additionally, ten parents of children with moderate cognitive disabilities who were attending the schools were also interviewed. The data provided the researcher with a reasonably good understanding of the attitudes, feedback, and activities of stakeholders from two different educational perspectives for educating students with moderate cognitive disabilities. The Thai government has established national policy for inclusive education as a mainstream education model for Thailand. It was found that teachers and school administrators however hold very diverse beliefs and practices about methods of educating students with moderate cognitive disabilities. The findings of this study can provide valuable information for policy makers in Thailand and for leaders and researchers in special education. The findings of this research suggest needed adjustments to policies and related practices, suggestions for special education teacher preparation programs, and ideas for the design of an appropriate special education system that leads to better educational opportunities for students with moderate cognitive disabilities in Thailand.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพิจารณาการจัดการเรียนการสอนอันสืบเนื่องมาจากกฎหมาย พระราชบัญญัติทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องสำหรับเด็กผู้มีความบกพร่องทางด้านสติปัญญาระดับทุติยภูมิจากโรงเรียน 2 แห่งในกรุงเทพฯ ใช้วิธีวิจัยแบบ Constructivist ซึ่งเน้นผู้ร่วมวิจัยเป็นศูนย์กลางประกอบด้วยพ่อแม่ผู้ปกครอง ครู และผู้บริหารโรงเรียน ผู้เข้าร่วมวิจัยประกอบด้วยครู 8 คน ผู้บริหารโรงเรียน 6 คนและผู้ปกครองที่มีบุตรหลานเป็นเด็กผู้มีความบกพร่องทางด้านสติปัญญาระดับทุติยภูมิ 10 คน โรงเรียนที่เข้าร่วมการวิจัยเป็นโรงเรียนที่จัดการสอนสำหรับเด็กผู้มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับทุติยภูมิที่มีวิธีการสอนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ การเก็บข้อมูล และเปรียบเทียบข้อมูลใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้คำถามปลายเปิดสอบถามผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนให้กับเด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา เพื่อประเมินการเรียนการสอนที่ใช้ในแต่ละโรงเรียน มีการสัมภาษณ์และบันทึกพฤติกรรมจากการประชุมผู้ปกครอง ผลการวิเคราะห์พบว่า ยังมีข้อถกเถียงในแง่ของการปฏิบัติหลากหลายประเด็น เนื่องมาจากการที่รัฐบาลไทยพยายามผลักดันการศึกษาร่วมเป็นการศึกษาสายหลักของประเทศ ในขณะที่ครูและผู้บริหารโรงเรียนต่างแสดงข้อคิดเห็นที่ขัดแย้งกับการใช้กฎหมายต่างๆ ผู้ปกครองบางส่วนมีความเห็นด้วยกับกฎหมายและพระราชบัญญัติเก่าๆ ที่เคยนำมาใช้อย่างเป็นรูปธรรมและไม่เห็นด้วยกับกฎหมายใหม่ๆ ที่ไม่สามารถนำมาใช้ได้จริง
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพิจารณาการจัดการเรียนการสอนอันสืบเนื่องมาจากกฎหมาย พระราชบัญญัติทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องสำหรับเด็กผู้มีความบกพร่องทางด้านสติปัญญาระดับทุติยภูมิจากโรงเรียน 2 แห่งในกรุงเทพฯ ใช้วิธีวิจัยแบบ Constructivist ซึ่งเน้นผู้ร่วมวิจัยเป็นศูนย์กลางประกอบด้วยพ่อแม่ผู้ปกครอง ครู และผู้บริหารโรงเรียน ผู้เข้าร่วมวิจัยประกอบด้วยครู 8 คน ผู้บริหารโรงเรียน 6 คนและผู้ปกครองที่มีบุตรหลานเป็นเด็กผู้มีความบกพร่องทางด้านสติปัญญาระดับทุติยภูมิ 10 คน โรงเรียนที่เข้าร่วมการวิจัยเป็นโรงเรียนที่จัดการสอนสำหรับเด็กผู้มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับทุติยภูมิที่มีวิธีการสอนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ การเก็บข้อมูล และเปรียบเทียบข้อมูลใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้คำถามปลายเปิดสอบถามผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนให้กับเด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา เพื่อประเมินการเรียนการสอนที่ใช้ในแต่ละโรงเรียน มีการสัมภาษณ์และบันทึกพฤติกรรมจากการประชุมผู้ปกครอง ผลการวิเคราะห์พบว่า ยังมีข้อถกเถียงในแง่ของการปฏิบัติหลากหลายประเด็น เนื่องมาจากการที่รัฐบาลไทยพยายามผลักดันการศึกษาร่วมเป็นการศึกษาสายหลักของประเทศ ในขณะที่ครูและผู้บริหารโรงเรียนต่างแสดงข้อคิดเห็นที่ขัดแย้งกับการใช้กฎหมายต่างๆ ผู้ปกครองบางส่วนมีความเห็นด้วยกับกฎหมายและพระราชบัญญัติเก่าๆ ที่เคยนำมาใช้อย่างเป็นรูปธรรมและไม่เห็นด้วยกับกฎหมายใหม่ๆ ที่ไม่สามารถนำมาใช้ได้จริง
Keyword(s)
กฎหมายและพระราชบัญญัติ
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับทุติยภูมิ
การจัดการเรียนการสอน
Educational Policy
Students with Moderate Cognitive Disabilities
Special Education
การปฎิรูปการศึกษา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ
Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับทุติยภูมิ
การจัดการเรียนการสอน
Educational Policy
Students with Moderate Cognitive Disabilities
Special Education
การปฎิรูปการศึกษา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ
Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities