Publication: Association Between Vitamin D Levels and Vitamin D Receptor FokI Polymorphism in Thai Postmenopausal Women With Osteoporosis
Issued Date
2021
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 44, No. 1 (January-March 2021), 1-10
Suggested Citation
Napatsanant Rojanasrirat, Somsak Suthutvoravut, Pattamawadee Yanatatsaneejit, Anna Wongkularb, นภัสนันท์ โรจนาศรีรัตน์, สมศักดิ์ สุทัศน์วรวุฒิ, ปฐมวดี ญาณทัศนีย์จิต, แอนนา วงษ์กุหลาบ Association Between Vitamin D Levels and Vitamin D Receptor FokI Polymorphism in Thai Postmenopausal Women With Osteoporosis. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 44, No. 1 (January-March 2021), 1-10. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72204
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Association Between Vitamin D Levels and Vitamin D Receptor FokI Polymorphism in Thai Postmenopausal Women With Osteoporosis
Alternative Title(s)
ความสัมพันธ์ระหว่างระดับวิตามินดีและยีนตัวรับวิตามินดีที่ภาวะพหุสัณฐาน FokI กับความหนาแน่นของมวลกระดูกในสตรีไทยวัยหมดประจำเดือน
Abstract
Background: Osteoporosis is a complex genetic disease, which is common among postmenopausal women. It is characterized by decreased bone mineral density (BMD) and increased bone fragility and fractures.
Objective: To study the association between serum vitamin D levels and vitamin D receptor (VDR) genetic FokI polymorphism in postmenopausal women with osteoporosis.
Methods: A total of 60 postmenopausal women who came for treatment at the menopausal clinic at Ramathibodi Hospital were enrolled. All of the patients had their BMD measured, and were determined serum vitamin D levels and VDR FokI polymorphism. Data were analyzed using chi-square and Fisher exact tests. The frequency of single nucleotide polymorphism (SNP) with risk of osteoporosis was compared.
Results: Among 60 postmenopausal women, 26 (43.3%) women were an osteoporotic group and 34 (56.7%) women were non-osteoporotic group. There were no significant differences in age, vitamin D levels, or VDR FokI polymorphism between the groups (P > .05). However, the TT genotype of VDR FokI polymorphism was significantly associated with vitamin D deficiency (< 20 ng/mL) (OR, 6.15; 95% CI, 1.51 - 25.14; P < .05).
Conclusions: Vitamin D levels and genotype of VDR FokI polymorphisms were similar between the osteoporotic and non-osteoporotic postmenopausal women. The TT genotype of VDR FokI polymorphism showed a significant association with vitamin D deficiency. Therefore, TT genotype of VDR FokI polymorphism may be used to predict risk of vitamin D deficiency
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับวิตามินดีและยีนตัวรับวิตามินดีที่ภาวะพหุสัณฐาน FokI กับโรคกระดูกพรุน วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างสตรีไทยวัยหมดประจำเดือน จำนวน 60 คน ที่มารับการตรวจรักษาที่คลินิกวัยหมดประจำเดือน โรงพยาบาลรามาธิบดี ทุกคนได้รับการตรวจความหนาแน่นของมวลกระดูก และได้รับการเจาะเลือดตรวจวัดระดับวิตามินดีและยีนตัวรับวิตามินดี จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลความสัมพันธ์ของตัวแปรโดยใช้สถิติ Chi-square test และสถิติ Fisher exact test และเปรียบเทียบความแตกต่างของสนิปส์ (Single nucleotide polymorphism, SNP) ต่อความเสี่ยงของการเกิดโรคกระดูกพรุน ผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างสตรีไทยวัยหมดประจำเดือน จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มที่เป็นโรคกระดูกพรุน จำนวน 26 คน (ร้อยละ 43.3) และกลุ่มที่ไม่มีภาวะกระดูกพรุน จำนวน 34 คน (ร้อยละ 56.7) ระดับวิตามินดีในกลุ่มที่ไม่มีภาวะกระดูกพรุนสูงกว่ากลุ่มที่เป็นโรคกระดูกพรุน แต่ไม่มีนัยสำคัญ (P > .05) เช่นเดียวกันกับอายุและยีนตัวรับวิตามินดีที่ภาวะพหุสัณฐาน FokI เมื่อศึกษาความสัมพันธ์ของระดับของวิตามินดีกับยีนตัวรับวิตามินดีที่ภาวะพหุสัณฐาน FokI พบว่า จีโนไทป์ TT มีความสัมพันธ์ต่อระดับของวิตามินดี โดยผู้ที่มีจีโนไทป์ TT จะมีภาวะของการขาดวิตามินดี (ระดับวิตามินดีน้อยกว่า 20 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร) มากกว่าผู้ที่มีจีโนไทป์แบบอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญ (OR, 6.15; 95% CI, 1.51-25.14; P < .05) สรุป: ระดับวิตามินดีและจีโนไทป์ของยีนตัวรับวิตามินดีที่ภาวะพหุสัณฐาน FokI ไม่แตกต่างกันในสตรีที่มีหรือไม่มีภาวะกระดูกพรุน แต่จีโนไทป์ TT ของยีนตัวรับวิตามินดีที่ภาวะพหุสัณฐาน FokI มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับระดับวิตามินดี ดังนั้น จีโนไทป์ TT ของยีนตัวรับวิตามินดีที่ภาวะพหุสัณฐาน FokI อาจจะใช้ทำนายความเสี่ยงของการเกิดภาวะของการขาดวิตามินดีได้
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับวิตามินดีและยีนตัวรับวิตามินดีที่ภาวะพหุสัณฐาน FokI กับโรคกระดูกพรุน วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างสตรีไทยวัยหมดประจำเดือน จำนวน 60 คน ที่มารับการตรวจรักษาที่คลินิกวัยหมดประจำเดือน โรงพยาบาลรามาธิบดี ทุกคนได้รับการตรวจความหนาแน่นของมวลกระดูก และได้รับการเจาะเลือดตรวจวัดระดับวิตามินดีและยีนตัวรับวิตามินดี จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลความสัมพันธ์ของตัวแปรโดยใช้สถิติ Chi-square test และสถิติ Fisher exact test และเปรียบเทียบความแตกต่างของสนิปส์ (Single nucleotide polymorphism, SNP) ต่อความเสี่ยงของการเกิดโรคกระดูกพรุน ผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างสตรีไทยวัยหมดประจำเดือน จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มที่เป็นโรคกระดูกพรุน จำนวน 26 คน (ร้อยละ 43.3) และกลุ่มที่ไม่มีภาวะกระดูกพรุน จำนวน 34 คน (ร้อยละ 56.7) ระดับวิตามินดีในกลุ่มที่ไม่มีภาวะกระดูกพรุนสูงกว่ากลุ่มที่เป็นโรคกระดูกพรุน แต่ไม่มีนัยสำคัญ (P > .05) เช่นเดียวกันกับอายุและยีนตัวรับวิตามินดีที่ภาวะพหุสัณฐาน FokI เมื่อศึกษาความสัมพันธ์ของระดับของวิตามินดีกับยีนตัวรับวิตามินดีที่ภาวะพหุสัณฐาน FokI พบว่า จีโนไทป์ TT มีความสัมพันธ์ต่อระดับของวิตามินดี โดยผู้ที่มีจีโนไทป์ TT จะมีภาวะของการขาดวิตามินดี (ระดับวิตามินดีน้อยกว่า 20 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร) มากกว่าผู้ที่มีจีโนไทป์แบบอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญ (OR, 6.15; 95% CI, 1.51-25.14; P < .05) สรุป: ระดับวิตามินดีและจีโนไทป์ของยีนตัวรับวิตามินดีที่ภาวะพหุสัณฐาน FokI ไม่แตกต่างกันในสตรีที่มีหรือไม่มีภาวะกระดูกพรุน แต่จีโนไทป์ TT ของยีนตัวรับวิตามินดีที่ภาวะพหุสัณฐาน FokI มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับระดับวิตามินดี ดังนั้น จีโนไทป์ TT ของยีนตัวรับวิตามินดีที่ภาวะพหุสัณฐาน FokI อาจจะใช้ทำนายความเสี่ยงของการเกิดภาวะของการขาดวิตามินดีได้