Publication:
Factors Related to Medication Adherence among Essential Hypertensive Patients in Tertiary Hospitals in Yangon, Myanmar

dc.contributor.authorWai Phyo Hanen_US
dc.contributor.authorSeo Ah Hongen_US
dc.contributor.authorSariyamon Tiraphaten_US
dc.contributor.otherMahidol University. ASEAN Institute for Health Developmenten_US
dc.date.accessioned2015-10-20T06:51:14Z
dc.date.accessioned2017-03-31T02:35:12Z
dc.date.available2015-10-20T06:51:14Z
dc.date.available2017-03-31T02:35:12Z
dc.date.created2015-10-20
dc.date.issued2015
dc.description.abstractPoor adherence to medications is one of the major public health challenges. Due to little study on the adherence to anti-hypertensive treatment in Myanmar, where the prevalence of hypertension is the highest among South-East Asian Countries (42%), this study aimed to determine the prevalence of the adherence and to identify the factors related to medication adherence among hypertensive patients in Yangon, Myanmar. A hospital-based cross-sectional study was done on a sample of 216 hypertensive patients who recruited by convenient sampling method at tertiary hospitals in Yangon, Myanmar during April and May 2015. Faceto-face interview was conducted using a structured questionnaire to gather information on socio-demographic, knowledge, perception, self-efficacy, family support and cues to action. The medication adherence was measured by Morisky Medication Adherence Scale (MMAS-8). “Good adherence” was defined as MMAS- 8 scores of 6 or greater out of a total score of 8 points whereas “Poor adherence” as point of less than 6. Descriptive statistics, chi-square test and multiple logistic regressions were used for data analysis. Only 50% of hypertensive patients were reported as good adherence to anti-hypertensive medication. Using backward multiple logistic regression, younger age (adjOR=3.03, 95%CI=1.15-7.99), male patients (adjOR=1.84, 95%CI=1.01-3.37), low household income (adjOR=2.39, 95%CI=1.17-4.85), longer duration of hypertension (adjOR=4.00, 95%CI=1.87-8.59 for those within 1-3 years and adjOR=2.63, 95%CI=1.12-6.20 for those with more than 3 years compared to those less than 1year)) and higher level of perceived barriers (adjOR=2.55, 95%CI=1.27-5.09) were related with poor medication adherence. This study reported relatively high proportion of poor medication adherence. With regard to perceived barriers, such as medication side effects and complex dosing, health education program can be designed in out-patient settings particularly for patients with a long duration of hypertension. In addition, implementation of health insurance system should be considered to address external barriers like financial problem.en_US
dc.description.abstractความไม่ร่วมมือในการใช้ยาคือปัญหาสำคัญของวงการแพทย์ ในประเทศพม่าความชุกของโรคความดันโลหิตสูงถูกพบมาก ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้(42%) อย่างไรก็ตามการศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อความร่วมมือในการใช้ยาในผู้ป่วยที่มีภาวะความ ดันโลหิตสูงมีน้อยมาก การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบความชุกและปัจจัยที่มีผลต่อความร่วมมือในการใช้ยาในผู้ป่วย ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงในเมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า การศึกษานี้เป็นการเก็บข้อมูลแบบภาคตัดขวางโดยใช้การเลือกหน่วยตัวอย่างตามสะดวก ซึ่ง มีกลุ่มตัวอย่างของผู้ป่วยความดัน โลหิตสูง 216 คน จากโรงพยาบาลระดับตติยภูมิในย่างกุ้ง ประเทศพม่า การเก็บข้อมูลใช้การสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถามเพื่อ รวบรวมข้อมูลทางสังคมและประชากร ความรู้ การรับรู้ การรับรู้สมรรถนะตนเอง การสนับสนุนของครอบครัว และ สิ่งชักนำให้ เกิดการปฏิบัติ ดำเนินการในช่วงเดือนเมษายนและพฤษภาคม 2015 ความร่วมมือในการใช้ยาถูกประเมินโดยใช้แบบวัด Morisky Medication Adherence Scale (MMAS-8). “ความร่วมมือที่ดี” ได้รับการกำหนดให้เป็นคะแนน MMAS-8 มากกว่าหรือเท่ากับ 6 คะแนนจากคะแนนรวม 8 จุดในขณะที่ “ความร่วมมือที่ไม่ดี” ได้รับการกำหนดให้เป็นคะแนน MMAS-8 น้อยกว่า 6 คะแนน สถิติเชิงพรรณนา การทดสอบไคสแควร์และการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกพหุคูณถูกนำมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงร้อยละ 50 รายงานว่าให้ความร่วมมือที่ดีในการรักษาความดันโลหิตสูง ผลการวิเคราะห์การถดถอย โลจิสติค ชี้ให้เห็นว่าว่าปัจจัยที่มีผลต่อการให้ความร่วมมือในการรักษาน้อย ประกอบด้วย อายุที่น้อย (adjOR = 3.03, 95% CI = 1.15-7.99) ผู้ป่วยชาย (adjOR = 1.84, 95% CI = 1.01-3.37) รายได้ของครัวเรือนที่ต่ำ (adjOR = 2.39, 95% CI = 1.17-4.85) ระยะเวลาที่มีภาวะความดันโลหิตสูง (adjOR =4.00, 95%CI=1.87-8.59 สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะความดันโลหิตสูง ในช่วง 1-3 ปี และ adjOR = 2.63, 95% CI = 1.12-6.20 สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะความดันโลหิตสูงมากว่า 3 ปี) และการมีระดับ การรับรู้อุปสรรคที่สูงกว่า (adjOR = 2.55, 95% CI = 1.27-5.09) การศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่ยังขาดความร่วมมือที่ดีในการรักษา การให้ความรู้แก่ผู้ป่วย เช่น ความรู้ในเรื่องผล ข้างเคียงของยา การใช้ยาที่ซับซ้อน อาจจะเป็นช่องทางที่สามารถเพิ่มความร่วมมือ ในการรักษาโรคโดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับ ผู้ป่วย นอกที่มีภาวะความดันโลหิตสูงเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน นอกจากนั้นการปรับปรุงระบบประกันสุขภาพที่สามารถลดอุปสรรคทาง ด้านการเงินจะเป็นอีกหนึ่งช่องทางที่จะช่วยส่งเสริมความร่วมมือที่ดีในการรักษาโรคแก่ผู้ป่วยได้
dc.identifier.citationJournal of Public Health and Development. Vol.13, No.2 (2015), 57-70en_US
dc.identifier.issn1905-1387
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1569
dc.language.isoengen_US
dc.rightsMahidol University
dc.rights.holderASEAN Institute for Health Development Mahidol University
dc.subjectHypertensionen_US
dc.subjectAdherenceen_US
dc.subjectMorisky Scaleen_US
dc.subjectAdherence Scale-8itemsen_US
dc.subjectMyanmaren_US
dc.subjectMedication Adherence Scaleen_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectJournal of Public Health and Developmenten_US
dc.subjectวารสารสาธารณสุขและการพัฒนาen_US
dc.titleFactors Related to Medication Adherence among Essential Hypertensive Patients in Tertiary Hospitals in Yangon, Myanmaren_US
dc.title.alternativeปัจจัยที่สัมพันธ์กับความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตติยภูมิ เมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่าen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ad-ar-sariyamo-2015.pdf
Size:
4.57 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:

Collections