Publication: การรับมือกับความไม่แน่นอนของคนดนตรี: กรณีศึกษาปัญหาในระหว่างการแพร่ระบาดของโรคระบาด COVID-19 ในประเทศไทย
dc.contributor.author | ตรีทิพ บุุญแย้ม | en_US |
dc.contributor.author | Treetip Boonyam | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์. สาขาธุรกิจดนตรี | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-03-25T06:46:10Z | |
dc.date.available | 2022-03-25T06:46:10Z | |
dc.date.created | 2565-03-25 | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.description.abstract | ผู้ประกอบอาชีพในธุุรกิจดนตรีได้รับผลกระทบอย่างมากต่อการระบาดของโรคระบาด COVID-19 เนื่องจาก ในประเทศไทยเองมีการออก พรก.ฉุุกเฉิน เพื่่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคด้วยการงดการชุุมนุุมของคน จำนวนมาก ส่งผลต่อการประกอบอาชีพด้้านดนตรีต่อเนื่่องมาตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นมา และมี แนวโน้มว่าอาชีพนี้จะได้รับการผ่อนปรนเป็นอาชีพสุุดท้าย ผลการสำรวจเบื้องต้นด้วยแบบสำรวจผ่าน Google form กับผู้ประกอบอาชีพดนตรีในประเทศไทยพบว่า ผู้ประกอบอาชีพนี้ได้รับผลกระทบอย่างมาก โดยรายได้ หายไปกว่าร้อยละ 50 จากรายได้เดิมที่เป็นอยู่ และพบว่านักดนตรีหรือนักร้องได้รับผลกระทบมากที่่สุด ในขณะ ที่ครููสอนดนตรีได้รับผลกระทบน้อยที่่สุุด การปรับตัวของผู้ประกอบอาชีพนี้คือการใช้เงินเก็บและการประกอบ อาชีพเสริม ในขณะที่กว่าร้อยละ 50 รู้สึกไม่สามารถทนต่อสถานการณ์เช่นนี้ได้อีกต่อไป ในบทความนี้ผู้เขียน นำ เสนอวิธีการรับมือของผู้ประกอบอาชีพดนตรีในต่างประเทศ และแนวทางการเตรียมพร้อมรับมือกับความไม่ แน่นอนต่อไปในอนาคตด้วยทฤษฎี I-ADAPT ให้แก่ผู้ประกอบอาชีพในธุุรกิจดนตรี | en_US |
dc.description.abstract | People who have careers in the music business have affected from the pandemic of COVID-19 because of the Emergency Decree of the Thai Government to delay the outbreak of the Coronavirus 2019 by setting the regulation of prohibitions or limitations the movement of large numbers of people across the various areas since March 2020 and the tendency that this occupation will be released to do business after others. From the primary survey with Google form to the persons who work in the music business in Thailand found that they have affected by this crisis which loses their earning around 50%. Although the persons who are the musicians or singers have got the most effects, the music teachers have got little affected by the crisis. They adapted themselves by using their savings and find other occupations to making their living. 50% of them can’t stand for this situation anymore. This article, the author proposes the methods that the international artists did for handling the crisis and also the guideline for preparing the persons in the music business for coping with the uncertainty situation in the future with the I-ADAPT theory. | en_US |
dc.identifier.citation | Mahidol Music Journal. ปีที่, 2 ฉบับที่ 2 (ก.ย. 2562 – ก.พ. 2563), 21-31 | en_US |
dc.identifier.issn | 2586-9973 (Print) | |
dc.identifier.issn | 2774-132X (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/64401 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | โควิด-19 | en_US |
dc.subject | การปรับตัว | en_US |
dc.subject | ธุุรกิจดนตรี | en_US |
dc.subject | นักดนตรี | en_US |
dc.subject | ศิลปิน | en_US |
dc.subject | COVID-19 | en_US |
dc.subject | Adaptability | en_US |
dc.subject | Music Business | en_US |
dc.subject | Musicians | en_US |
dc.subject | Artist | en_US |
dc.subject | วารสาร Mahidol Music Journal | en_US |
dc.title | การรับมือกับความไม่แน่นอนของคนดนตรี: กรณีศึกษาปัญหาในระหว่างการแพร่ระบาดของโรคระบาด COVID-19 ในประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Dealing with Uncertainty of Persons in Music Industry: A Case Study of Problems during COVID-19 Pandemic in Thailand | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://www.music.mahidol.ac.th/mmj/ |