Publication: Integration of the WFME Standards and AUN-QA Criteria for Student Assessment in Undergraduate Medical Education
Issued Date
2020
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Chakri Naruebodindra Medical Institute Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 43, No. 4 (October-December 2020), 52-59
Suggested Citation
Permphan Dharmasaroja, เพิ่มพันธุ์ ธรรมสโรช Integration of the WFME Standards and AUN-QA Criteria for Student Assessment in Undergraduate Medical Education. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 43, No. 4 (October-December 2020), 52-59. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72247
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Integration of the WFME Standards and AUN-QA Criteria for Student Assessment in Undergraduate Medical Education
Alternative Title(s)
บูรณาการของมาตรฐาน WFME และเกณฑ์ AUN-QA สำหรับการประเมินนักศึกษาในการศึกษาแพทย์ระดับปริญญาตรี
Author(s)
Abstract
Quality assurance (QA) is a broad-based activity, which encompasses both quality management and quality control, and requires all the policies, standards, systems and processes in place to maintain and improve medical education quality. QA can be managed through an institutional monitoring that should include the evaluation of teaching and learning approaches, and the assessment. Accreditation standards by international agencies such as the World Federation for Medical Education (WFME) are to be followed for an external quality assurance. In addition, the ASEAN University Network-Quality Assurance (AUN-QA) is the assessment criteria for promoting QA in higher educational programs in ASEAN countries. Both WFME and AUN-QA require that teaching and learning approaches and assessment methods be aligned to the program learning outcomes. The purpose of this review is to compare the WFME standards and the AUN-QA criteria on teaching and learning approaches and methods of assessment to encourage the integration of these two QA systems for undergraduate medical education.
การประกันคุณภาพเป็นกิจกรรมที่ครอบคลุมทั้งการจัดการคุณภาพและการควบคุมคุณภาพ และต้องการนโยบาย มาตรฐาน ระบบและกระบวนการทั้งหมด เพื่อคงไว้ซึ่งคุณภาพและปรับปรุงคุณภาพการศึกษาทางการแพทย์ การประกันคุณภาพสามารถจัดการผ่านการติดตามตรวจสอบผ่านทางสถาบัน ซึ่งควรรวมถึงการวัดผลสัมฤทธิ์ของวิธีการสอนและการเรียนรู้และการประเมินผล สำหรับการประกันคุณภาพภายนอก มีมาตรฐานการรับรองโดยหน่วยงานระหว่างประเทศ เช่น สหพันธ์แพทยศาสตรศึกษาโลก (World Federation for Medical Education, WFME) ที่ต้องปฏิบัติตาม นอกจากนี้ยังมีการประกันคุณภาพเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University Network-Quality Assurance, AUN-QA) ซึ่งเป็นเกณฑ์การประเมินเพื่อส่งเสริมการประกันคุณภาพในระดับอุดมศึกษาของประเทศในอาเซียน ทั้ง WFME และ AUN-QA เน้นให้แนวทางการสอนและการเรียนรู้และวิธีการประเมินสอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบมาตรฐาน WFME และเกณฑ์ AUN-QA ที่เกี่ยวกับวิธีการสอนและการเรียนรู้และวิธีการประเมิน เพื่อส่งเสริมการบูรณาการระบบประกันคุณภาพทั้งสองสำหรับแพทยศาสตรศึกษาระดับปริญญาตรี
การประกันคุณภาพเป็นกิจกรรมที่ครอบคลุมทั้งการจัดการคุณภาพและการควบคุมคุณภาพ และต้องการนโยบาย มาตรฐาน ระบบและกระบวนการทั้งหมด เพื่อคงไว้ซึ่งคุณภาพและปรับปรุงคุณภาพการศึกษาทางการแพทย์ การประกันคุณภาพสามารถจัดการผ่านการติดตามตรวจสอบผ่านทางสถาบัน ซึ่งควรรวมถึงการวัดผลสัมฤทธิ์ของวิธีการสอนและการเรียนรู้และการประเมินผล สำหรับการประกันคุณภาพภายนอก มีมาตรฐานการรับรองโดยหน่วยงานระหว่างประเทศ เช่น สหพันธ์แพทยศาสตรศึกษาโลก (World Federation for Medical Education, WFME) ที่ต้องปฏิบัติตาม นอกจากนี้ยังมีการประกันคุณภาพเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University Network-Quality Assurance, AUN-QA) ซึ่งเป็นเกณฑ์การประเมินเพื่อส่งเสริมการประกันคุณภาพในระดับอุดมศึกษาของประเทศในอาเซียน ทั้ง WFME และ AUN-QA เน้นให้แนวทางการสอนและการเรียนรู้และวิธีการประเมินสอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบมาตรฐาน WFME และเกณฑ์ AUN-QA ที่เกี่ยวกับวิธีการสอนและการเรียนรู้และวิธีการประเมิน เพื่อส่งเสริมการบูรณาการระบบประกันคุณภาพทั้งสองสำหรับแพทยศาสตรศึกษาระดับปริญญาตรี