Publication: The complexity of languages and scripts used in Thailand’s deep south
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2021
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
eng
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
Call No.
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
item.page.oaire.edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Research Institute for Languages and Cultures of Asia Mahidol University
Physical Location
Bibliographic Citation
Journal of Language and Culture. Vol.40, No.1 (Jan. – Jun . 2021), 167-190
Citation
Uniansasmita Samoh, Suwilai Premsrirat, ยูเนียนสาสมีต้า สาเมาะ, สุวิไล เปรมศรีรัตน์ (2021). The complexity of languages and scripts used in Thailand’s deep south. Retrieved from: https://hdl.handle.net/20.500.14594/63216.
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
The complexity of languages and scripts used in Thailand’s deep south
Alternative Title(s)
ความซับซ้อนของการใช้ภาษาและอักษรในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
Author's Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor's Affiliation
Corresponding Author(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Series
Has Part
Abstract
Thailand’s deep south is a complex area of languages and scripts. The purpose of this article is to explain the complexity of the use of languages and scripts in the life of people in Thailand’s deep south. This study uses a qualitative research method carried out by using interviews, participant observation, and documentation.
The study found that there are six main languages used in the region: Patani Malay, Standard Thai, Classical Malay (Jawi script), Standard Malay (Jawi script), Standard Malay (Rumi script), and Arabic. Patani Malay is used for daily communication with family, friends, and people in the community of Patani Malay people. Standard Thai is used mainly for daily communication, with non-Patani Malay speakers and also used increasingly with family, friends, and people in the community. Thai is also used as the medium of instruction in all government schools. Classical Malay (Jawi script) is used in the religious domain, especially in traditional Islamic education institutions called pondoks. Standard Malay (Jawi script), is used in teaching the Standard Malay language and for writing signs such as village names, school names, mosque names, etc. Standard Malay (Rumi script) is used in teaching the Standard Malay language and some signs. The Arabic language is used in teaching and learning Islamic studies in the Tadika, pondok and private Islamic schools as well as in some government schools. In addition, Arabic is used in studying the Qur’an and for writing the names of religious institutions.
พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีความซับซ้อนในการใช้ภาษาและอักษร บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่ออธิบายความซับซ้อนของการใช้ภาษาและอักษรต่างๆ ในชีวิตประจำวันของคนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้การศึกษาเชิงคุณภาพ ได้แก่ วิธีการสัมภาษณ์ การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการศึกษาเอกสาร ผลการศึกษาพบว่า พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีการใช้ภาษาจำนวน 6 ภาษาหลัก ซึ่งได้แก่ ภาษามลายูปาตานี ภาษาไทย ภาษามลายูคลาสสิก (อักษรยาวี) ภาษามลายูมาตรฐาน (อักษรยาวี) ภาษามลายูมาตรฐาน (อักษรรูมี) หรือภาษามาเลเซีย และภาษาอาหรับ โดยภาษามลายูปาตานีเป็นภาษาที่ใช้สื่อสาร ในชีวิตประจำวันในครอบครัว กับเพื่อน และคนในชุมชน ภาษาไทยใช้สื่อสารกับผู้ที่ไม่ใช่เจ้าของภาษามลายู ปาตานี ปัจจุบันมีการใช้ภาษาไทยเพิ่มมากขึ้นทั้งภายในครอบครัว กับเพื่อน และคนในชุมชน นอกจากนี้ ภาษาไทยยังเป็นสื่อการสอนในโรงเรียนของรัฐในระดับต่างๆ ในขณะที่ภาษามลายูคลาสสิก (อักษรยาวี) เป็นภาษาที่ใช้ในบริบททางศาสนา โดยเฉพาะในสถาบันการศึกษาปอเนาะ สำหรับภาษามลายูมาตรฐาน (อักษรยาวี) และภาษามลายูมาตรฐาน (อักษรรูมี) ใช้ในการเรียนการสอนภาษามลายูมาตรฐานและใช้สำหรับเขียนป้ายต่างๆ ภาษาอาหรับมีการเรียนการสอนวิชาอิสลามศึกษาในโรงเรียนตาดีกา สถาบันการศึกษาปอเนาะ และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม และใช้สำหรับการเรียนการสอนอัลกุรอานและการเขียนป้ายชื่อสถานที่ ทางศาสนา
พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีความซับซ้อนในการใช้ภาษาและอักษร บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่ออธิบายความซับซ้อนของการใช้ภาษาและอักษรต่างๆ ในชีวิตประจำวันของคนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้การศึกษาเชิงคุณภาพ ได้แก่ วิธีการสัมภาษณ์ การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการศึกษาเอกสาร ผลการศึกษาพบว่า พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีการใช้ภาษาจำนวน 6 ภาษาหลัก ซึ่งได้แก่ ภาษามลายูปาตานี ภาษาไทย ภาษามลายูคลาสสิก (อักษรยาวี) ภาษามลายูมาตรฐาน (อักษรยาวี) ภาษามลายูมาตรฐาน (อักษรรูมี) หรือภาษามาเลเซีย และภาษาอาหรับ โดยภาษามลายูปาตานีเป็นภาษาที่ใช้สื่อสาร ในชีวิตประจำวันในครอบครัว กับเพื่อน และคนในชุมชน ภาษาไทยใช้สื่อสารกับผู้ที่ไม่ใช่เจ้าของภาษามลายู ปาตานี ปัจจุบันมีการใช้ภาษาไทยเพิ่มมากขึ้นทั้งภายในครอบครัว กับเพื่อน และคนในชุมชน นอกจากนี้ ภาษาไทยยังเป็นสื่อการสอนในโรงเรียนของรัฐในระดับต่างๆ ในขณะที่ภาษามลายูคลาสสิก (อักษรยาวี) เป็นภาษาที่ใช้ในบริบททางศาสนา โดยเฉพาะในสถาบันการศึกษาปอเนาะ สำหรับภาษามลายูมาตรฐาน (อักษรยาวี) และภาษามลายูมาตรฐาน (อักษรรูมี) ใช้ในการเรียนการสอนภาษามลายูมาตรฐานและใช้สำหรับเขียนป้ายต่างๆ ภาษาอาหรับมีการเรียนการสอนวิชาอิสลามศึกษาในโรงเรียนตาดีกา สถาบันการศึกษาปอเนาะ และโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม และใช้สำหรับการเรียนการสอนอัลกุรอานและการเขียนป้ายชื่อสถานที่ ทางศาสนา