Publication: Factors Related to Functional Status among Patients with Ischemic Stroke
Issued Date
2017
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
Journal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.2), No. 4 ( October-December 2017), 74-81
Suggested Citation
Pham Thi Nga, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, Wallada Chanruangvanich, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, Wimolrat Puwarawuttipanit Factors Related to Functional Status among Patients with Ischemic Stroke. Journal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.2), No. 4 ( October-December 2017), 74-81. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44153
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors Related to Functional Status among Patients with Ischemic Stroke
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะการทำหน้าที่ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ
Abstract
Purpose: To examine the relationships between age, co-morbidity, stroke severity, and functional status among patients with ischemic stroke.
Design: Descriptive correlational design.
Methods: The sample was 115 patients with ischemic stroke who were treated at the Thai Binh General Hospital, Vietnam. Data were collected from the patients’ hospital records and interviewed with 3 research instruments: 1) the National Institute of Health Stroke Scale (NIHSS), 2) Co-morbidity index, and 3) the Modified Barthel Activities of Daily Living Index. Spearman’s rho was employed to test the relationship among studied variables.
Main findings: The results supported the proposed hypothesis that age, co-morbidity, and stroke severity were negatively related to functional status after two weeks of treatment (rs = - .42, rs = - .35, rs = - .90, p < . 05, respectively).
Conclusion and recommendations: Nurses should assess and manage patients’ stroke severity, and try to control their co-morbidities. Standard guidelines should be developed and implemented to promote the transition from stroke illness to an independent functional status.
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอายุ โรคร่วม และความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง กับภาวะการทำหน้าที่ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ รูปแบบการวิจัย: วิจัยเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ จำนวน 115 คน ที่พักรักษาในโรงพยาบาลไทบิง เจนเนอรัล ประเทศเวียตนาม อายุตั้งแต่ 18 ปี และมีคะแนนการรู้คิดจากแบบวัด MMSE 23 คะแนน ขึ้นไป เก็บรวบรวมข้อมูลจากแฟ้มประวัติ และประเมินด้วยแบบวัด 3 ชุด ได้แก่ 1) ประเมินความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองด้วย the National Institute of Health Stroke Scale (NIHSS) 2) ประเมินโรคร่วมด้วย Co-morbidity index, และ 3) ประเมินภาวะการทำหน้าที่ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบด้วย the Modified Barthel Activities of Daily Living Index วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Spearman’s rho ผลการวิจัย: พบว่าอายุ โรคร่วม และความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง มีความสัมพันธ์เชิงลบกับภาวะการทำหน้าที่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = - .42, rs = - .35, rs = - .90, p < . 05, ตามลำดับ) สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรประเมินและจัดการกับปัญหาความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง พยายามควบคุมโรคร่วมให้สงบ และพัฒนาแนวปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานสำหรับหน่วยงาน ตลอดจนใช้แนวปฏิบัตินั้นส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถเปลี่ยนผ่านจากภาวะความเจ็บป่วยสู่ภาวะการทำหน้าที่ได้โดยไม่ต้องพึ่งพา นอกจากนั้นควรมีการวิจัยเพื่อประเมินประสิทธิภาพของแนวปฏิบัตินี้
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอายุ โรคร่วม และความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง กับภาวะการทำหน้าที่ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ รูปแบบการวิจัย: วิจัยเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ จำนวน 115 คน ที่พักรักษาในโรงพยาบาลไทบิง เจนเนอรัล ประเทศเวียตนาม อายุตั้งแต่ 18 ปี และมีคะแนนการรู้คิดจากแบบวัด MMSE 23 คะแนน ขึ้นไป เก็บรวบรวมข้อมูลจากแฟ้มประวัติ และประเมินด้วยแบบวัด 3 ชุด ได้แก่ 1) ประเมินความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองด้วย the National Institute of Health Stroke Scale (NIHSS) 2) ประเมินโรคร่วมด้วย Co-morbidity index, และ 3) ประเมินภาวะการทำหน้าที่ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบด้วย the Modified Barthel Activities of Daily Living Index วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Spearman’s rho ผลการวิจัย: พบว่าอายุ โรคร่วม และความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง มีความสัมพันธ์เชิงลบกับภาวะการทำหน้าที่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = - .42, rs = - .35, rs = - .90, p < . 05, ตามลำดับ) สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรประเมินและจัดการกับปัญหาความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง พยายามควบคุมโรคร่วมให้สงบ และพัฒนาแนวปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานสำหรับหน่วยงาน ตลอดจนใช้แนวปฏิบัตินั้นส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถเปลี่ยนผ่านจากภาวะความเจ็บป่วยสู่ภาวะการทำหน้าที่ได้โดยไม่ต้องพึ่งพา นอกจากนั้นควรมีการวิจัยเพื่อประเมินประสิทธิภาพของแนวปฏิบัตินี้