Publication: Inclusive or Segregated Classroom: A Question of Educating Children With Autism
Issued Date
2018
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Communication Sciences and Disorders Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Center for Health Policy and Management Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
National Taichung University of Education
Center for Health Policy and Management Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
National Taichung University of Education
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 41, No. 2 (Apr-Jun 2018), 54-66
Suggested Citation
Pareyaasiri Witoonchart, Yun Ju Huang, ปรียาสิริ วิฑูรชาติ, ยัน จู ฮวง Inclusive or Segregated Classroom: A Question of Educating Children With Autism. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 41, No. 2 (Apr-Jun 2018), 54-66. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79513
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Inclusive or Segregated Classroom: A Question of Educating Children With Autism
Alternative Title(s)
ห้องเรียนร่วมหรือห้องเรียนพิเศษ: หนึ่งคำถามสำหรับการศึกษาของเด็กออทิสติก
Abstract
Background: Education for children with autism in Thailand has three basic options; inclusive classroom, segregated classroom, and no school at all. Since children with autism is one of many types of disabilities that mandated in the law to have basic education that provided by the local schools, however, it seemed that children with autism is one group of disabilities that was mostly excluded from appropriate education.
Objective: The purpose of this multiple-participant case study was to explore the factors that impetus parents and/or caregivers of children with autism in choosing the right education approach for their children.
Methods: Using a qualitative approach, two types of data were collected. The open-ended interviews with focus groups with parents whose children attend each type of schools was conducted. The interview questions and topics used during the focus groups are designed to provide insight into what the parents and/or caregiver think about their choice of the school selected. Second, the formal and informal observation note that took in schools. Finally, the data were analyzed by using Nvivo program which was designed to organize and manage unstructured of qualitative data.
Results: The results were lead to understand the question about educating children with autism in four main area: 1) educational historical determinism which referred to agendas that related to educating children with autism; but still had not yet fully implemented; 2) government marginalization of the need of education for children with autism which referred to unclear legislation about how to make the law related in educating these children plausible; 3) parental and societal: lack of understanding of educating children with special needs which referred to the misconception about these children learning ability; and 4) educational: unbalanced and unequipped special education professionals and the crucial reality consideration which referred to the questionable skills of teachers in teaching these specific group of children.
Conclusions: This study provided information with a reasonably good understanding of the indication of the academic and behavioral expectations for children with autism who attend the school which leaded to the conclusion of the appropriate school for these children with autism.
บทนำ: การศึกษาสำหรับเด็กพิเศษโดยเฉพาะเด็กออทิสติกในประเทศไทย แบ่งเป็น 3 ระบบ คือ ห้องเรียนร่วม ห้องเรียนพิเศษ หรือไม่ได้เข้าเรียน โดยเด็กออทิสติกจัดเป็นส่วนหนึ่งในกลุ่มเด็กพิเศษที่ตามกฎหมายจะต้องได้รับการศึกษาพื้นฐานโดยการจัดการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานจากโรงเรียนในสังกัดพื้นที่ แต่ในความเป็นจริงแล้วเด็กออทิสติกกลับเป็นเด็กที่ถูกละเลยจากระบบการศึกษา วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกรูปแบบการศึกษาสำหรับเด็กออทิสติก ของบิดามารดาหรือผู้ปกครอง วิธีการศึกษา: การวิจัยแบบคุณภาพโดยเก็บข้อมูล 2 ส่วน ประการแรกคือ การใช้แบบสอบถามปลายเปิดกับบิดามารดาหรือผู้ปกครองที่มีบุตรหลานเป็นเด็กออทิสติก ซึ่งเข้าเรียนในแต่ละรูปแบบการสอน โดยข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสอบถามนี้จะทำให้ได้ข้อมูลเชิงลึกว่าเหตุใดรูปแบบการศึกษานี้จึงเป็นรูปแบบที่ถูกเลือก ประการที่สองคือ การสังเกตการณ์ซึ่งมีทั้งการเก็บข้อมูลแบบเป็นระเบียบแบบแผนและไม่เป็นระเบียบแบบแผน จากนั้นข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากเก็บรวบรวมจะนำมาวิเคราะห์และจับกลุ่มโดยใช้โปรแกรม NVivo ซึ่งเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ช่วยจัดระเบียบข้อมูลสำหรับงานวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการศึกษา: ปัจจัยที่ส่งผลให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองเลือกรูปแบบการศึกษาสำหรับเด็กออทิสติกประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ 1) กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการศึกษาให้แก่เด็กออทิสติก ซึ่งยังไม่ถูกนำมาใช้ในทางปฏิบัติ 2) จากการที่รัฐบาลไม่ได้เล็งเห็นความสำคัญเรื่องการให้การศึกษาแก่เด็กออทิสติกอย่างแท้จริง ทำให้เกิดคำถามต่างๆ เมื่อถึงเวลาที่เด็กออทิสติกต้องเข้าระบบโรงเรียน 3) ความตระหนักรู้ของสังคมเกี่ยวกับการให้การศึกษาแก่เด็กออทิสติก ซึ่งรวมถึงเรื่องของความสามารถทางการเรียนของเด็กเหล่านี้ และ 4) ระบบการศึกษาพิเศษที่ยังไม่เอื้อต่อการจัดการศึกษาให้แก่เด็กออทิสติกทั้งในเรื่องของครูหรือวิธีการสอน สรุป: การศึกษานี้ทำให้สามารถพิจารณาข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบการศึกษาและพฤติกรรมต่างๆ ของเด็กออทิสติกที่ส่งผลต่อการเข้าเรียนในแต่ละรูปแบบของการศึกษา ซึ่งนำไปสู่ข้อสรุปของปัจจัยที่ส่งผลให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองเลือกรูปแบบการศึกษาสำหรับเด็กออทิสติกเหล่านี้
บทนำ: การศึกษาสำหรับเด็กพิเศษโดยเฉพาะเด็กออทิสติกในประเทศไทย แบ่งเป็น 3 ระบบ คือ ห้องเรียนร่วม ห้องเรียนพิเศษ หรือไม่ได้เข้าเรียน โดยเด็กออทิสติกจัดเป็นส่วนหนึ่งในกลุ่มเด็กพิเศษที่ตามกฎหมายจะต้องได้รับการศึกษาพื้นฐานโดยการจัดการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานจากโรงเรียนในสังกัดพื้นที่ แต่ในความเป็นจริงแล้วเด็กออทิสติกกลับเป็นเด็กที่ถูกละเลยจากระบบการศึกษา วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกรูปแบบการศึกษาสำหรับเด็กออทิสติก ของบิดามารดาหรือผู้ปกครอง วิธีการศึกษา: การวิจัยแบบคุณภาพโดยเก็บข้อมูล 2 ส่วน ประการแรกคือ การใช้แบบสอบถามปลายเปิดกับบิดามารดาหรือผู้ปกครองที่มีบุตรหลานเป็นเด็กออทิสติก ซึ่งเข้าเรียนในแต่ละรูปแบบการสอน โดยข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสอบถามนี้จะทำให้ได้ข้อมูลเชิงลึกว่าเหตุใดรูปแบบการศึกษานี้จึงเป็นรูปแบบที่ถูกเลือก ประการที่สองคือ การสังเกตการณ์ซึ่งมีทั้งการเก็บข้อมูลแบบเป็นระเบียบแบบแผนและไม่เป็นระเบียบแบบแผน จากนั้นข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากเก็บรวบรวมจะนำมาวิเคราะห์และจับกลุ่มโดยใช้โปรแกรม NVivo ซึ่งเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ช่วยจัดระเบียบข้อมูลสำหรับงานวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการศึกษา: ปัจจัยที่ส่งผลให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองเลือกรูปแบบการศึกษาสำหรับเด็กออทิสติกประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ 1) กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการศึกษาให้แก่เด็กออทิสติก ซึ่งยังไม่ถูกนำมาใช้ในทางปฏิบัติ 2) จากการที่รัฐบาลไม่ได้เล็งเห็นความสำคัญเรื่องการให้การศึกษาแก่เด็กออทิสติกอย่างแท้จริง ทำให้เกิดคำถามต่างๆ เมื่อถึงเวลาที่เด็กออทิสติกต้องเข้าระบบโรงเรียน 3) ความตระหนักรู้ของสังคมเกี่ยวกับการให้การศึกษาแก่เด็กออทิสติก ซึ่งรวมถึงเรื่องของความสามารถทางการเรียนของเด็กเหล่านี้ และ 4) ระบบการศึกษาพิเศษที่ยังไม่เอื้อต่อการจัดการศึกษาให้แก่เด็กออทิสติกทั้งในเรื่องของครูหรือวิธีการสอน สรุป: การศึกษานี้ทำให้สามารถพิจารณาข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบการศึกษาและพฤติกรรมต่างๆ ของเด็กออทิสติกที่ส่งผลต่อการเข้าเรียนในแต่ละรูปแบบของการศึกษา ซึ่งนำไปสู่ข้อสรุปของปัจจัยที่ส่งผลให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองเลือกรูปแบบการศึกษาสำหรับเด็กออทิสติกเหล่านี้