Publication: Determinants of cervical cancer screening utilization among women aged 30-45 years in Blantyre district, Malawi
Issued Date
2015
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University.
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol. 13, No.3 (Sep - Dec 2015), 19-34
Suggested Citation
Mary Sesu Chosamata, Seo Ah Hong, Sariyamon Tiraphat Determinants of cervical cancer screening utilization among women aged 30-45 years in Blantyre district, Malawi. Journal of Public Health and Development. Vol. 13, No.3 (Sep - Dec 2015), 19-34. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2420
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Determinants of cervical cancer screening utilization among women aged 30-45 years in Blantyre district, Malawi
Alternative Title(s)
ปัจจัยของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในกลุ่ม สตรีวัย 30-45 ปี ในอำเภอ เบียนไทร์ ประเทศมาลาวี
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
Cervical cancer screening is the single important public health strategy to reduce cervical cancer incidence
and subsequent mortality. In Malawi, low utilization leads to high mortality rate (80%). This cross-sectional
community based study aimed at identifying determinants to utilization of cervical cancer screening services
among women aged 30-45 years in Blantyre district, Malawi.
A total of 257 selected women (134 urban and 123 rural) participated in the study and face to face
interview was conducted using a structured questionnaire to gather information on socio-demographic,
knowledge, perception, health locus control, and social support from 30th April 2015 to 16th May 2015.
Data were analyzed using Chi-square test and multiple logistic regression.
Only 13.2% of the women had ever been screened for cervical cancer screening. The main reasons for
not being screened among the respondents who were not screened yet included lack of interest (39.7%),
lack of knowledge (33.5%) and no reason given (19.8%). The most significant determinants to utilization
were older age (Adj.OR=7.05, 95% CI=2.31-21.6), having more than one sex partners (Adj.OR=3.24, 95%
CI=1.31-8.0), use of oral contraceptive (Adj.OR=2.60, 95% CI=1.02-6.61), having heard of cervical cancer
screening (Adj.OR=17.7, 95% CI=2.18-144) and higher level of knowledge (Adj.OR=7.37, 95% CI=2.44-
22.2).
In conclusion, there is low utilization of cervical cancer screening among women in Blantyre district.
There is need for effective community based cervical screening, education and awareness for good and successful
utilization of cervical cancer screening in Blantyre District and Malawi.
การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเป็นกลยุทธ์ด้านสาธารณสุขที่สำคัญที่สามารถจะลดอัตราการเกิดมะเร็งปากมดลูกซึ่งสามารถนำไปสู่การเสียชีวิต ในประเทศมาลาวีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่ต่ำนำไปสู่อัตราการ ตายสูงถึงร้อยละ 80 การศึกษาในครั้งนี้เป็นการเก็บข้อมูลแบบภาคตัดขวางโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาปัจจัยที่มีผลต่อการรับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มผู้หญิงอายุ 30-45 ปี ในอำเภอเบียนไทร์ ประเทศ มาลาวี ผู้หญิงจำนวน 257 คน (134 คนจากชุมชนเมืองและ 123 คนจากชนบท) ได้รับการสุ่มเลือกในการศึกษาการเก็บข้อมูลใช้การสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถามเพื่อรวบรวมข้อมูลทางสังคมและประชากร ความรู้ การรับรู้ความสามารถในการควบคุมตนเองด้านสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคม ดำเนินการเก็บรวมรวบข้อมูลในช่วง 30 เมษายน 2015 ถึง 16 พฤษภาคม 2015 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบไคสแควร์ และการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกพหุคูณผู้หญิง ที่เคยได้รับ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มีเพียงร้อยละ 13.2 เหตผุลสำคัญ ที่ทำ ให้ไม่ได้รับการตรวจคัดกรองประกอบด้วย การขาดความสนใจ (39.7%) การขาดความรู้ (33.5%) และไม่มีเหตุผลที่กำหนด (19.8% ) ปัจจัยสำคัญในการรับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่สำคัญ คืออายุที่เพิ่มขึ้น (Adj.OR=7.05, 95% CI=2.31-21.6) การมีจำนวนคู่นอนมากกว่าหนึ่งคน (Adj.OR=3.24, 95% CI=1.31-8.0) การใช้ยาคุมกำเนิด (Adj.OR=2.60,95% CI=1.02-6.61) การเคยได้ยินเรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Adj.OR=17.7, 95% CI=2.18-144)และการมีความรู้สูง (Adj.OR=7.37, 95% CI= 2.44-22.2) สรุปได้ว่าการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มผู้หญิงในอำเภอเบียนไทร์ยังมีจำนวนน้อยมาก ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยการส่งเสริมความรู้และสร้างความตระหนักเรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในแต่ละชุมชน ของอำเภอ เบียนไทร์ ประเทศ มาลาวี
การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเป็นกลยุทธ์ด้านสาธารณสุขที่สำคัญที่สามารถจะลดอัตราการเกิดมะเร็งปากมดลูกซึ่งสามารถนำไปสู่การเสียชีวิต ในประเทศมาลาวีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่ต่ำนำไปสู่อัตราการ ตายสูงถึงร้อยละ 80 การศึกษาในครั้งนี้เป็นการเก็บข้อมูลแบบภาคตัดขวางโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาปัจจัยที่มีผลต่อการรับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มผู้หญิงอายุ 30-45 ปี ในอำเภอเบียนไทร์ ประเทศ มาลาวี ผู้หญิงจำนวน 257 คน (134 คนจากชุมชนเมืองและ 123 คนจากชนบท) ได้รับการสุ่มเลือกในการศึกษาการเก็บข้อมูลใช้การสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถามเพื่อรวบรวมข้อมูลทางสังคมและประชากร ความรู้ การรับรู้ความสามารถในการควบคุมตนเองด้านสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคม ดำเนินการเก็บรวมรวบข้อมูลในช่วง 30 เมษายน 2015 ถึง 16 พฤษภาคม 2015 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบไคสแควร์ และการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกพหุคูณผู้หญิง ที่เคยได้รับ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มีเพียงร้อยละ 13.2 เหตผุลสำคัญ ที่ทำ ให้ไม่ได้รับการตรวจคัดกรองประกอบด้วย การขาดความสนใจ (39.7%) การขาดความรู้ (33.5%) และไม่มีเหตุผลที่กำหนด (19.8% ) ปัจจัยสำคัญในการรับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่สำคัญ คืออายุที่เพิ่มขึ้น (Adj.OR=7.05, 95% CI=2.31-21.6) การมีจำนวนคู่นอนมากกว่าหนึ่งคน (Adj.OR=3.24, 95% CI=1.31-8.0) การใช้ยาคุมกำเนิด (Adj.OR=2.60,95% CI=1.02-6.61) การเคยได้ยินเรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Adj.OR=17.7, 95% CI=2.18-144)และการมีความรู้สูง (Adj.OR=7.37, 95% CI= 2.44-22.2) สรุปได้ว่าการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มผู้หญิงในอำเภอเบียนไทร์ยังมีจำนวนน้อยมาก ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยการส่งเสริมความรู้และสร้างความตระหนักเรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในแต่ละชุมชน ของอำเภอ เบียนไทร์ ประเทศ มาลาวี