Publication:
โปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมการเลิกสูบบุหรี่มวนเองของผู้หญิง อําเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย

dc.contributor.authorสุนารี ทะน๊ะเป็กen_US
dc.contributor.authorมณฑา เก่งการพานิชen_US
dc.contributor.authorสุปรียา ตันสกุลen_US
dc.contributor.authorธราดล เก่งการพานิชen_US
dc.contributor.authorSunaree Tanapeken_US
dc.contributor.authorMondha Kengganpanichen_US
dc.contributor.authorSupreya Tansakulen_US
dc.contributor.authorTharadol Kengganpanichen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2021-03-27T11:42:16Z
dc.date.available2021-03-27T11:42:16Z
dc.date.created2564-03-27
dc.date.issued2555
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาประสิทธิผลของการประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อป้องกันโรคร่วมกับแรง สนับสนุนทางสังคมเพื่อส่งเสริมการเลิกสูบบุหรี่มวนเองของผู้หญิง อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย กลุ่มทดลองมี จำนวน 24 คน กลุ่มเปรียบเทียบจำนวน 30 คน กลุ่มทดลองได้รับกิจกรรมสุขศึกษา 4 ครั้ง ระยะเวลา 6 สัปดาห์ กลุ่มเปรียบเทียบได้รับคำแนะนำจากบริการทางสาธารณสุขตามปกติ รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ Student’s t-test, Paired t-test ผลการทดลอง พบว่า หลังการทดลองและระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้เกี่ยวกับ ผลเสียของการสูบบุหรี่มวนเอง การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคจากการสูบบุหรี่มวนเองและพฤติกรรมการเลิก สูบบุหรี่มวนเองดีกว่าก่อนการทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในระยะติดตามผลพบผู้เลิก สูบบุหรี่ในกลุ่มทดลองถึงร้อยละ 33.3 ในขณะที่กลุ่มเปรียบเทียบมีผู้เลิกสูบบุหรี่มวนเองเพียงร้อยละ 13.3 ในช่วง หลังการทดลองและระยะติดตามผลมีการรับรู้ความรุนแรงของการสูบบุหรี่มวนเองและการรับรู้ความสามารถของ ตนเองในการเลิกสูบบุหรี่มวนเองของกลุ่มทดลองดีกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อเทียบกับกลุ่ม เปรียบเทียบพบความแตกต่างกันเฉพาะในช่วงหลังการทดลอง ไม่พบความแตกต่างในระยะติดตามผล และพบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความคาดหวังในผลของการเลิกสูบบุหรี่มวนเอง หลังการทดลองและระยะติดตามผล เพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ไม่พบความแตกต่างกับกลุ่มเปรียบเทียบทั้งในช่วง หลังการทดลองและระยะติดตามผลen_US
dc.description.abstractThis quasi-experimental research aimed to study the effects of the application of protection motivation theory and social support to promote a roll-your-own (RYO) smoking cessation program among women in Maechan District, Chiang Rai Province. There were 24 women in the experimental group who received the health education program, and 30 women in the comparison group. This program was composed of four sessions of health education activities within six weeks. The comparison group received regular advice by health officers. Data collection was done by using an interview schedule for three times; in the pre, post-program, and follow-up after the last activity for eight weeks. The data were analyzed by computing percentage, mean, standard deviation, Repeated Measures one way ANOVA Independent t-test, and Z-test The results showed that the experimental group had significantly higher mean scores of knowledge about harmful effect of RYO smoking, perceived susceptibility of disease caused by RYO smoking and cessation behavior of RYO smoking than the pre-program and comparison group. In the following-up period it was found that 33.3 percent of the experimental group quit the roll-your-own smoking comparing with 13.3 percent of the comparison group. In post-program and follow-up, mean score of noxiousness of disease from RYO smoking and self-efficacy for RYO smoking cessation were higher than those from the pre-program. When compared with the comparison group, the only difference was in the post-program results. The terms of the response efficacy for RYO smoking cessation, the experimental group had significantly higher mean scores in the post-program and followup than the pre-program, but there was no difference in the comparison group in post-program and follow-up.en_US
dc.identifier.citationวารสารสุขศึกษา. ปีที่ 35, ฉบับที่ 121 (พ.ค.- ส.ค. 2555), 12-29en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/61918
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectแรงจูงใจเพื่อป้องกันโรคen_US
dc.subjectแรงสนับสนุนทางสังคมen_US
dc.subjectโปรแกรมการเลิกสูบบุหรี่มวนเองen_US
dc.subjectProtection motivationen_US
dc.subjectSocial Supporten_US
dc.subjectroll-your-own smoking cession programen_US
dc.titleโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมการเลิกสูบบุหรี่มวนเองของผู้หญิง อําเภอแม่จัน จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeHealth Education Program to Promote Roll-Your-Own Smoking Cessation Among Women in Maechan District, Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he01.tci-thaijo.org/index.php/muhed/article/view/173992

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-mondha-2555-1.pdf
Size:
2.8 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections