Publication:
โปรแกรมส่งเสริมโภชนาการโดยประยุกต์ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเอง เพื่อป้องกันความเสี่ยงทางสรีรวิทยาต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในครูสตรี

dc.contributor.authorนฤมล เวชจักรเวรen_US
dc.contributor.authorภารดี เต็มเจริญen_US
dc.contributor.authorวงเดือน ปั้นดีen_US
dc.contributor.authorวราภรณ์ เสถียรนพเก้าen_US
dc.contributor.authorParadee Temcharoenen_US
dc.contributor.authorWongdyan Pandiien_US
dc.contributor.authorWarapone Satheannoppakaoen_US
dc.contributor.correspondenceภารดี เต็มเจริญen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาโภชนวิทยาen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาปรสิตวิทยาและกีฏวิทยาen_US
dc.date.accessioned2015-01-22T02:25:26Z
dc.date.accessioned2017-06-30T08:35:23Z
dc.date.available2015-01-22T02:25:26Z
dc.date.available2017-06-30T08:35:23Z
dc.date.created2558
dc.date.issued2553
dc.description.abstractความเสี่ยงทางสรีรวิทยาต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดจะเพิ่มขึ้นในหญิงวัยหมดประจำเดือน การวิจัยกึ่งทดลองนี้มุ่งศึกษาผลของการประยุกต์ทฤษฎีการับรู้ความสามารถของตนเองในโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการเพื่อป้องกันความเสี่ยงทางสรีรวิทยาต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในหญิงวัยผู้ใหญ่ตอนต้น กลุ่มตัวอย่างเป็นครูสตรี อายุระหว่าง 30-45 ปี แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 33 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 37 คน ระยะเวลาทดลอง 8 สัปดาห์ ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2551 ถึงมกราคม 2552 เก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลอง โดยใช้แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับภาวะหมดประจำเดือน การรับรู้ความสามารถขงอตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์ของการปฏิบัติ และการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ดัชนีมวลกายและเส้นรอบวงเอว วิเคราะห์สถิติโดย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Independent-Sample-t-test และ Paired t-test ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนความรู้ การรับรู้ความสามารถของตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์ของการปฏิบัติ และการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้นกว่าก่อนการทดลอง และเพิ่มมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) ผลการวิจยัชี้ให้เห็นว่า การจัดโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการโดยประยุกต์ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเอง ทำให้หญิงวัยผู้ใหญ่ตอนต้นมีการเตรียมตัวเข้าสู่วัยหมดประจำเดือน ควรนำไปประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพหญิงกลุ่มอื่นๆโดยเฉพาะกลุ่มหญิงวัยก่อนหมดประจำเดือนen_US
dc.description.abstractPhysiological risks of cardiovascular disease (CVD) increases for women in postmenopause. The purpose of this quasi-experimental study was to evaluate the effectiveness of a nutrition promotion program applying self-efficacy theory for physiological risk prevention of CVD in the early adulthood women. The sample consisted of female teachers, aged 30-45 years. One group was selected as the experimental group, with 33 participants, and the other was selected as the comparison group, with 37 participants. The experimental period was 8 weeks, during November 2008 to January 2009. Data were collected at before and after experiment by self-administered questionnaires included knowledge on menopause, perceived self-efficacy, outcome expectation, practice for prevention of CVD, body mass index and waist circumference. Statistical analysis was performed by using mean, standard deviation, Independent-Sample-t-test and Paired t-test. Research findings revealed that the experimental group had a mean score of knowledge, perceived self-efficacy, outcome expectation and practice for prevention of CVD significantly higher than those before the experiment and significantly higher than those of the comparison group (p-value < 0.05). Results indicated that the nutrition promotion program applying self-efficacy theory helped the early adulthood women to promote a self-preparation before going through post-menopause. This program is recommended for other groups of adult women, especially in pre-menopausal women.
dc.identifier.citationวารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 40, ฉบับที่ 1 (2553), 40-52en_US
dc.identifier.issn0125-1678
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2458
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการen_US
dc.subjectทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเองen_US
dc.subjectหญิงวัยผู้ใหญ่en_US
dc.subjectครูสตรีen_US
dc.subjectNutrition Promotion Programen_US
dc.subjectSelf-Efficacy Theoryen_US
dc.subjectAdult Womenen_US
dc.subjectFemale Teacheren_US
dc.subjectวารสารสาธารณสุขศาสตร์en_US
dc.subjectJournal of Public Healthen_US
dc.titleโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการโดยประยุกต์ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเอง เพื่อป้องกันความเสี่ยงทางสรีรวิทยาต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในครูสตรีen_US
dc.title.alternativeNutrition promotion program applying self-efficacy theory for physiological risk prevention of cardiovascular disease in female teachersen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/jph/article/view/7892

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-paradee-2553.pdf
Size:
269.1 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:

Collections