Publication:
การส่งเสริมการใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็กโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

dc.contributor.authorศิริกุล อิศรานุรักษ์en_US
dc.contributor.authorจิราพร ชมพิกุลen_US
dc.contributor.authorปราณี สุทธิสุคนธ์en_US
dc.contributor.authorเกรียงศักดิ์ ซื่อเลื่อมen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน
dc.date.accessioned2012-03-23T05:57:39Z
dc.date.accessioned2017-04-07T11:17:50Z
dc.date.available2012-03-23T05:57:39Z
dc.date.available2017-04-07T11:17:50Z
dc.date.created2012-03-23
dc.date.issued2552
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการส่งเสริมการใช้สมุดบันทึกสุขภาพฯ โดยอสม. และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีการ เป็นการศึกษาภาคตัดขวางในอำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี สุ่มหมู่บ้านตัวอย่างโดยวิธี Two-stage Cluster Sampling ได้จำนวน 40 หมู่บ้าน จาก 4 ตำบลที่ถูกสุ่มเป็นตัวอย่าง และสัมภาษณ์ อสม.ทุกคนของหมู่บ้านตัวอย่างโดยแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการส่งเสริม การใช้สมุดบันทึกสุขภาพฯ โดยอสม. ด้วย Logistic regression ผลการศึกษา อสม.ที่ให้การสัมภาษณ์มีจำนวน 260 คน อายุเฉลี่ย 42 ปี ร้อยละ 71.2 เป็นเพศหญิง ร้อยละ 71.7 มีการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 82.7 เป็นอสม.มานานกว่า 5 ปี ร้อยละ 46.5 เคยผ่านการอบรมเกี่ยวกับการใช้สมุดบันทึกสุขภาพและ ร้อยละ 41.1 เคยช่วยงานในคลินิกฝากครรภ์หรือ คลินิกสุขภาพเด็กดี กิจกรรมที่ส่งเสริมการใช้สมุดบันทึกสุขภาพที่ อสม.มากกว่าร้อยละ 90 ปฏิบัติ ได้แก่ การแนะนำเกี่ยวกับวัคซีน ความสำคัญของสมุดบันทึกสุขภาพ และการดูแลเด็ก ปัจจัยที่มีผลต่อการส่งเสริม การใช้สมุดบันทึกสุขภาพฯโดยอสม. ได้แก่ เพศ การผ่านการอบรมการใช้สมุดบันทึกสุขภาพฯ และระยะเวลาการเป็นอสม. เพศหญิงมีแนวโน้มที่จะส่งเสริมการใช้มากกว่าเพศชาย (OR = 3.0, 95% CI = 1.6 - 5.8) อสม.ที่เคยผ่านการอบรมการใช้สมุดบันทึกสุขภาพฯ มีแนวโน้มที่จะส่งเสริมการใช้ มากกว่า ผู้ไม่เคยผ่านการอบรม (OR = 3.4, 95% CI = 1.8 - 6.6) ส่วนอสม.ที่มีอายุงานมากกว่า 5 ปี มีแนวโน้มที่จะส่งเสริมการใช้น้อยกว่า อสม.รุ่นใหม่ (OR = 0.4, 95% CI = 0.2 - 0.8) สรุป อสม.เพศหญิงที่ผ่านการอบรมการใช้สมุดมาก่อน และเป็นอสม.ไม่เกิน 5 ปี มีการส่งเสริม การใช้สมุดบันทึกสุขภาพฯ ในระดับสูง
dc.description.abstractObjectives: To explore the performance of VHVs on promoting the utilization of the MCH handbook and factors related to high performance. Methods: A cross sectional survey was conducted in Phanom Thuan district, Kanchanaburi province, Thailand. By using two-stage cluster sampling, two hundred and sixty VHVs working in 40 villages were selected from four sub-districts. Logistic Regression Analysis was performed to identify significant factors related to high performance. Results: Two hundred and sixty VHVs responded to the structured questionnaire. Their mean age was 42 years old. Most of them are female (71.2%), finished primary level of education (71.7%), and have been worked as VHVs longer than 5 years (82.7%). Nearly 47% of them have been trained for the handbook. About 41% of VHVs have assisted in an antenatal clinic or a well child clinic. Three main promoting activities toward the MCH handbook were 1) motivating for child vaccination (94.2%), 2) emphasizing for carefully keeping the handbook (93.1%), and 3) providing basic knowledge on child care during illness (91.2%). Factors significantly related to high performance of VHVs to promote the utilization of the MCH handbook were female VHVs (OR=3.0, 95% CI = 1.6 - 5.8), and having been orientated about the handbook (OR=3.4, 95% CI = 1.8 - 6.6). Having been worked as VHVs for more than 5 years significantly related to low performance (OR=0.4, 95% CI = 0.2 - 0.8). Conclusion: VHVs can be effective motivators to promote the utilization of the MCH handbook especially female VHVs, having been worked as VHVs less than 5 years, and ones who have been oriented about the handbook.en_US
dc.identifier.citationวารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 7, ฉบับที่ 1 (2552), 1-10en_US
dc.identifier.issn1905-1387
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1634
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดล.en_US
dc.rights.holderสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน.มหาวิทยาลัยมหิดล.en_US
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านen_US
dc.subjectVillage health volunteersen_US
dc.subjectสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็กen_US
dc.subjectMaternal and child health handbooken_US
dc.subjectOpen Access article
dc.subjectวารสารสาธารณสุขและการพัฒนาen_US
dc.subjectJournal of Public Health and Developmenten_US
dc.titleการส่งเสริมการใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็กโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านen_US
dc.title.alternativePromotion of utilization of maternal and child health handbook by village health volunteersen_US
dc.typeOriginal Articleen_US
dcterms.dateSubmitted2009-01
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ad-ar-sirikul-2552.pdf
Size:
1.56 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

Collections