Publication: Outcome and Related Factors in Patients With Distal Radius Fracture After Rehabilitation Treatment
Issued Date
2022
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 45, No. 1 (January-March 2022), 21-31
Suggested Citation
Tachit Jiravichitchai, Thirut Pornthawesub, Monratta Panuwannakorn, เตชิต จิระวิชิตชัย, ธีรุตม์ พรทวีทรัพย์, มลรัชฐา ภาณุวรรณากร Outcome and Related Factors in Patients With Distal Radius Fracture After Rehabilitation Treatment. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 45, No. 1 (January-March 2022), 21-31. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72197
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Outcome and Related Factors in Patients With Distal Radius Fracture After Rehabilitation Treatment
Alternative Title(s)
ผลการรักษาและปัจจัยที่มีผลในผู้ป่ วยที่มีกระดูกแขนส่วนปลายหักภายหลังได้รับการฟื้นฟู
Abstract
Background: Distal radius fracture is the most common forearm fracture in elderly people. Rehabilitation after the fracture could increase effectiveness of treatment as it could reduce pain and increase range of motion and strength of hand and wrist.
Objective: To study the outcome and related factors in patients with distal radius fracture after rehabilitation treatment.
Methods: The medical record of 30 patients diagnosed with distal radius fracture received rehabilitation treatment with at least 1-year follow-up period was reviewed. Primary outcome included pain, range of motion, grip strength, and deformity were combined to calculate the total score of modified scoring system for functional assessment. Secondary outcome was severity of fracture, treatment method, duration from fracture to rehabilitation treatment and rehabilitative facilities which were also analysed regarding the primary outcome.
Results: Most good outcome was reported at 6 months after fracture. Only grip strength required a year to improve. Patients with poor outcome were mostly found in severely fractured group (15/16, 93.8%) with P < .001. The overall total score turned good at 12 months after fracture. Other factors showed no significant correlation with primary outcome (P > .05).
Conclusions: Overall outcome was considered good at 12 months after fracture. Severe type of fracture predicted poorer outcome compared with mild type with statistical significance. No statistically significant difference was reported between patients received rehabilitation earlier and later than 2 months in accordance with treatment methods and rehabilitation settings.
บทนำ:ภาวะกระดูกแขนส่วนปลายหักพบได้บ่อยในผู้ป่วยสูงอายุ การฟื้นฟูและกายภาพบำบัดสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา โดยลดอาการปวด เพิ่มมุม และความแข็งแรงของการกำมือได้วัตถุประสงค์:เพื่อศึกษาผลการรักษาและปัจจัยที่มีผลในผู้ป่วยที่มีกระดูกแขนส่วนปลายหักภายหลังได้รับการฟื้นฟู วิธีการศึกษา:การศึกษาย้อนหลังจากข้อมูลเวชระเบียนผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยกระดูกแขนส่วนปลายหักและส่งมารับการรักษาทางเวชศาสตร์ฟื้นฟูต่อเนื่องอย่างน้อย 12 เดือน รวม 30 คน ผลการรักษาหลัก ประกอบด้วย ระดับความปวด การใช้งานของมือ มุมการเคลื่อนไหวของข้อมือและปลายแขน แรงบีบกำมือ และการผิดรูป ถูกนำมาคำนวณเป็นคะแนน Modified scoring system for functional assessment ผลการรักษารอง หรือปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาคือ ความรุนแรงของภาวะกระดูกหัก วิธีการรักษา ระยะเวลาตั้งแต่กระดูกหักจนมาพบแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู และสถานที่ฟื้นฟู ถูกนำมาคำนวณวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางสถิติเทียบกับผลการรักษาหลัก ผลการศึกษา:ผู้ป่วยมีผลการรักษาส่วนใหญ่ดีขึ้นที่ 6 เดือนหลังกระดูกหัก มีเพียงแรงบีบกำมือที่ต้องใช้เวลาประมาณ 1 ปี ผู้ที่มีภาวะกระดูกแขนส่วนปลายหักชนิดรุนแรงมากให้ผลการรักษาที่ไม่ดี จำนวน 15 คน จาก 16 คน (ร้อยละ 93.8; P < .001) ผลคะแนนโดยรวมดีขึ้นชัดเจนในช่วง 1 ปี หลังกระดูกหัก ปัจจัยที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ไม่มีผลต่อการรักษาอย่างมีนัยสำคัญ (P > .05) สรุป:ผู้ป่วยมีผลการรักษาโดยรวมอยู่ในระดับดีที่ระยะเวลา 12 เดือนหลังกระดูกหัก ภาวะกระดูกหักที่รุนแรงมีผลเสียต่อผลการรักษาอย่างมีนัยสำคัญ วิธีการรักษา ระยะเวลาในการส่งมาแผนกฟื้นฟู และสถานที่ฟื้นฟูไม่มีผลต่อการรักษาอย่างมีนัยสำคัญ
บทนำ:ภาวะกระดูกแขนส่วนปลายหักพบได้บ่อยในผู้ป่วยสูงอายุ การฟื้นฟูและกายภาพบำบัดสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา โดยลดอาการปวด เพิ่มมุม และความแข็งแรงของการกำมือได้วัตถุประสงค์:เพื่อศึกษาผลการรักษาและปัจจัยที่มีผลในผู้ป่วยที่มีกระดูกแขนส่วนปลายหักภายหลังได้รับการฟื้นฟู วิธีการศึกษา:การศึกษาย้อนหลังจากข้อมูลเวชระเบียนผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยกระดูกแขนส่วนปลายหักและส่งมารับการรักษาทางเวชศาสตร์ฟื้นฟูต่อเนื่องอย่างน้อย 12 เดือน รวม 30 คน ผลการรักษาหลัก ประกอบด้วย ระดับความปวด การใช้งานของมือ มุมการเคลื่อนไหวของข้อมือและปลายแขน แรงบีบกำมือ และการผิดรูป ถูกนำมาคำนวณเป็นคะแนน Modified scoring system for functional assessment ผลการรักษารอง หรือปัจจัยที่มีผลต่อการรักษาคือ ความรุนแรงของภาวะกระดูกหัก วิธีการรักษา ระยะเวลาตั้งแต่กระดูกหักจนมาพบแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู และสถานที่ฟื้นฟู ถูกนำมาคำนวณวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางสถิติเทียบกับผลการรักษาหลัก ผลการศึกษา:ผู้ป่วยมีผลการรักษาส่วนใหญ่ดีขึ้นที่ 6 เดือนหลังกระดูกหัก มีเพียงแรงบีบกำมือที่ต้องใช้เวลาประมาณ 1 ปี ผู้ที่มีภาวะกระดูกแขนส่วนปลายหักชนิดรุนแรงมากให้ผลการรักษาที่ไม่ดี จำนวน 15 คน จาก 16 คน (ร้อยละ 93.8; P < .001) ผลคะแนนโดยรวมดีขึ้นชัดเจนในช่วง 1 ปี หลังกระดูกหัก ปัจจัยที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ไม่มีผลต่อการรักษาอย่างมีนัยสำคัญ (P > .05) สรุป:ผู้ป่วยมีผลการรักษาโดยรวมอยู่ในระดับดีที่ระยะเวลา 12 เดือนหลังกระดูกหัก ภาวะกระดูกหักที่รุนแรงมีผลเสียต่อผลการรักษาอย่างมีนัยสำคัญ วิธีการรักษา ระยะเวลาในการส่งมาแผนกฟื้นฟู และสถานที่ฟื้นฟูไม่มีผลต่อการรักษาอย่างมีนัยสำคัญ