Publication:
ผลของโปรแกรมการจัดการรายกรณีผู้ป่วยสูงอายุโรคมะเร็งระยะสุดท้ายในชุมชน

dc.contributor.authorภิญโญ อุทธิยาen_US
dc.contributor.authorขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อen_US
dc.contributor.authorพัชราพร เกิดมงคลen_US
dc.contributor.authorพิชัย จันทร์ศรีวงศ์en_US
dc.contributor.authorPinyo Utthiyaen_US
dc.contributor.authorKwanjai Amnatsatsueen_US
dc.contributor.authorPatcharaporn Kedmongkolen_US
dc.contributor.authorPhichai Chansriwongen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีen_US
dc.date.accessioned2021-09-28T07:31:43Z
dc.date.available2021-09-28T07:31:43Z
dc.date.created2564-09-28
dc.date.issued2561
dc.description.abstractโรคมะเร็งทำให้ผู้ป่วยมีความทุกข์ทรมานทั้งด้าน ร่างกายและจิตใจ การวิจัยกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่ม วัดก่อนและหลังโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของ โปรแกรมการจัดการรายกรณีผู้ป่วยสูงอายุโรคมะเร็ง ระยะสุดท้ายในชุมชน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ โรคมะเร็งระยะท้ายที่มารับบริการในหน่วยบริการ พยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน โรงพยาบาลรามาธิบดี ระหว่าง กุมภาพันธ์-พฤษภาคม พ.ศ. 2560 จำนวน 60 คน สุ่มเข้ากลุ่มอย่างง่ายด้วยการจับฉลาก แบ่งเป็น กลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบกลุ่มละ 30 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมฯ ประกอบด้วย การให้ ความรู้เกี่ยวกับโรค การฝึกทักษะการจัดการอาการ ไม่สุขสบายและการดูแลตนเอง การเยี่ยมบ้าน และ การโทรศัพท์ติดตาม กลุ่มเปรียบเทียบได้รับการพยาบาล ตามปกติ เปรียบเทียบคะแนนคุณภาพชีวิต และอาการ ไม่สุขสบาย ใช้สถิติ Pair T-test และ Independent T-test พบว่า หลังการทดลอง 1) กลุ่มทดลองมีคะแนน คุณภาพชีวิตไม่แตกต่างจากก่อนการทดลอง ยกเว้น ด้านสังคม/ครอบครัว และด้านจิตใจ/อารมณ์สูงกว่า ก่อนการทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p<0.001) 2) ค่าเฉลี่ยคะแนนอาการ ไม่สุขสบายทั้ง 2 กลุ่มเพิ่มขึ้น แต่ไม่แตกต่างกัน ระหว่างกลุ่ม และ 3) กลุ่มทดลองมีอาการซึมเศร้า และวิตกกังวลลดลงและต่ำกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ผลการวิจัยนำมา พัฒนาการดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคมะเร็งระยะท้าย ในชุมชน เพื่อคงคุณภาพชีวิตและลดอาการไม่สุขสบายen_US
dc.description.abstractCancer can cause patients physical and mental stress, so a quasi-experimental pretest-posttest study was conducted to evaluate the effects of a case management program on older adults with end stage cancer. A total of 60 older adults, registered at the Home Health Care Unit, Ramathibodi Hospital from February, 2017 to May 2017 were randomly assigned to an experimental or comparison group 30 subjects each group. Those from the experimental group received a case management program consisting of health education regarding disease and end of life care, skill development for symptom management, supportive self-care, home visits, and telephone follow-up. The comparison group received standard home health care. The Pair T-test and Independent T-test, revealed the experimental group had no significantly different mean scores regarding quality of life than before the experiment. However, mean scores concerning social/family well-being and emotional well-being were higher than before the experiment and higher than that of the comparison group (p<0.001). Moreover, the experimental and comparison groups had higher mean ESAS scores than before the experiment, but without significant difference between groups. Furthermore, the experimental group exhibited fewer depressive and anxiety symptoms than before the experiment and fewer than the comparison group (p<0.05). These findings could be applied to develop a multidisciplinary care plan for older adults with end stage cancer in a community to improve their quality of life and decrease their discomfort.en_US
dc.identifier.citationวารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 48, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561), 371-384en_US
dc.identifier.issn2697-584X (Print)
dc.identifier.issn2697-5866 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63715
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.subjectโรคมะเร็งระยะสุดท้ายen_US
dc.subjectการจัดการรายกรณีen_US
dc.subjectolder adultsen_US
dc.subjectend stage canceren_US
dc.subjectcase managementen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการจัดการรายกรณีผู้ป่วยสูงอายุโรคมะเร็งระยะสุดท้ายในชุมชนen_US
dc.title.alternativeEffects of Case Management Program for Older Adults with End Stage Cancer in the Communityen_US
dc.typeOriginal Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/jph/article/view/115050/118461

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-kwanjai-2561.pdf
Size:
3.68 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections