Publication: ประสบการณ์การได้รับผลกระทบด้านอาหารและการปรับตัวของชุมชนในสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19
dc.contributor.author | นฤมล เปียซื่อ | |
dc.contributor.author | พัชราภรณ์ ไหวคิด | |
dc.contributor.author | นพวรรณ์ เปียซื่อ | |
dc.contributor.author | Narumon Piaseu | |
dc.contributor.author | Phatcharaphon Whaikid | |
dc.contributor.author | Noppawan Piaseu | |
dc.date.accessioned | 2025-04-08T08:48:36Z | |
dc.date.available | 2025-04-08T08:48:36Z | |
dc.date.created | 2568-04-08 | |
dc.date.issued | 2567 | |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การได้รับผลกระทบด้านอาหารและการปรับตัวของชุมชนในสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล เป็นผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ในชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 ในกรุงเทพมหานคร คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 100 ราย ระหว่างเดือน สิงหาคม 2564 ถึง กุมภาพันธ์ 2565 โดยใช้ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลแบบสอบถามการเข้าถึงอาหารและความมั่นคงทางอาหาร และแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และ การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า การแพร่ระบาดของโควิด-19 ส่งผลกระทบต่ออาหาร ได้แก่ 1) การได้มาซึ่งอาหาร/การเข้าถึงอาหาร 2) ปริมาณและคุณภาพอาหาร 3) การรับประทานอาหาร และ 4) ระบบทางเดินอาหาร และการแพร่ระบาดนี้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ได้แก่ จิตใจและร่างกาย ซึ่งนำไปสู่การปรับตัวของชุมชนดังนี้ 1) สู้เพื่อความอยู่รอด 2) ช่วยเหลือกันไม่ทอดทิ้งกัน 3) หาแนวทางการดูแลเรื่องอาหารในชุมชน และ 4) เดินหน้าผ่านพ้นวิกฤตไปด้วยกัน ผลการศึกษามีข้อเสนอแนะในการสร้างหรือพัฒนาระบบอาหารการวางแผนกำหนดแนวทางในการช่วยเหลือ การดูแลเรื่องอาหารในชุมชนในสถานการณ์วิกฤตอย่างเป็นระบบโดยคำนึงถึงจริยธรรม ประกอบด้วย การมีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการผลิตและแปรรูปอาหาร การกระจายอาหาร และการบริโภคอย่างยั่งยืนเพื่อเสริมสร้างโภชนาการ สุขภาพและสุขภาวะของชุมชน | |
dc.description.abstract | This qualitative research aimed to explore the experiences of community food impacts and resilience during the COVID-19 pandemic. The participants were adults aged 20 and above residing in communities affected by the COVID-19 pandemic in Bangkok. Through purposive sampling, 100 participants were recruited. Data were collected between August 2021 and February 2022,using a personal data questionnaire,the Food Accessibility and Security Questionnaire,and semi-structuredinterviews.Data were analyzed using descriptive statistics and content analysis. Findings revealed that the COVID-19 pandemic significantly impacted communities' food and health. Effects on food included 1) food acquisition or access, 2) food quantity and quality, 3) food consumption,and 4)gastrointestinal systems. These effects also impact health,including both psychological and physical aspects. Community resilience included 1)Struggling to make ends meet, 2) Mutual help and support, 3) Community food care strategies,and 4) Navigating through crises. This study proposes recommendations for developing or improving food systems, planning for assistance, and community food care during crises systematically and ethically.These recommendations include creating environments that foster sustainable food production, processing, and efficient distribution and consumption, aiming to improve community nutrition,health, and well-being. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล. ปีที่ 30, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2567), 253-267 | |
dc.identifier.issn | 2822-1370 (Print) | |
dc.identifier.issn | 2822-1389 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/109351 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.rights.holder | มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา | |
dc.rights.holder | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ | |
dc.subject | ชุมชน | |
dc.subject | โควิด-19 | |
dc.subject | อาหาร | |
dc.subject | ผลกระทบ | |
dc.subject | การปรับตัว | |
dc.subject | Community | |
dc.subject | COVID-19 | |
dc.subject | Food | |
dc.subject | Impacts | |
dc.subject | Resilience | |
dc.title | ประสบการณ์การได้รับผลกระทบด้านอาหารและการปรับตัวของชุมชนในสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 | |
dc.title.alternative | Experiences of Community Food Impacts and Resilience during the COVID-19 Pandemic | |
dc.type | Research Article | |
dcterms.accessRights | open access | |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/RNJ/article/view/268717/253-267 | |
oaire.citation.endPage | 267 | |
oaire.citation.issue | 2 | |
oaire.citation.startPage | 253 | |
oaire.citation.title | วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล | |
oaire.citation.volume | 30 | |
oaire.version | Accepted Manuscript | |
oairecerif.author.affiliation | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี | |
oairecerif.author.affiliation | มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา | |
oairecerif.author.affiliation | มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
Files
Original bundle
1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
- Name:
- ra-ar-phatchar-2567.pdf
- Size:
- 3.99 MB
- Format:
- Adobe Portable Document Format