Publication:
ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ เสริมสร้างแรงจูงใจ และฝึกทักษะการใช้ยาสูดโดยใช้แอปพลิเคชันไลน์ต่อการควบคุมทางคลินิกในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

dc.contributor.authorวารุณี ติ๊บปะละen_US
dc.contributor.authorดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศen_US
dc.contributor.authorคนึงนิจ พงศ์ถาวรกมลen_US
dc.contributor.authorWarunee Tippalaen_US
dc.contributor.authorDoungrut Wattanakitkrilearten_US
dc.contributor.authorKanaungnit Pongthavornkamolen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2022-03-29T10:35:43Z
dc.date.available2022-03-29T10:35:43Z
dc.date.created2565-03-29
dc.date.issued2565
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการให้ความรู้ เสริมสร้างแรงจูงใจ และฝึกทักษะการใช้ยาสูดโดยใช้แอปพลิเคชันไลน์ต่อการควบคุมทางคลินิกในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังจำนวน 63 ราย กลุ่มทดลอง 31 ราย และกลุ่มควบคุม 32 ราย กลุ่มทดลองได้รับการพยาบาลตามปกติร่วมกับโปรแกรมการให้ความรู้ เสริมสร้างแรงจูงใจ และฝึกทักษะการใช้ยาสูดโดยใช้แอปพลิเคชันไลน์ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติร่วมกับได้รับคู่มือสำหรับผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ระยะเวลาดำเนินการวิจัย 6 สัปดาห์ ประเมินผลการวิจัยโดยใช้แบบสอบถามทางคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการทดสอบที ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 72.14 ปี (SD = 9.46) เป็นเพศชายร้อยละ 95.3 หลังได้รับโปรแกรมกลุ่มทดลองมีการควบคุมทางคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังดีกว่าก่อนให้โปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) และดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษาครั้งนี้ยืนยันถึงผลของโปรแกรมการให้ความรู้ เสริมสร้างแรงจูงใจ และฝึกทักษะการใช้ยาสูดโดยใช้แอปพลิเคชันไลน์ในการเพิ่มการควบคุมทางคลินิกในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง พยาบาลควรนำโปรแกรมนี้มาใช้ในการส่งเสริมความถูกต้องในการใช้ยาสูดและการให้ความรู้ในการดูแลตนเองเพื่อการควบคุมทางคลินิกของโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โดยเฉพาะในระหว่างการมารับการตรวจรักษาตามนัดen_US
dc.description.abstractPurpose: To study the effects of education, motivation, and inhaler skills program through line application on clinical control in patients with chronic obstructive pulmonary disease. Design: Experimental design. Methods: The total sample size was 63. There were 31 in the experimental group and 32 in the control group. The experimental group received standard nursing care and the education, motivation, and inhaler skills program through line application. The control group received standard nursing care and self-care guidebook. The duration of study was six weeks. The research outcomes were collected using the clinical COPD questionnaire. The data were analyzed using descriptive statistics, and t-test. Main findings: The results showed that the majority of participants (95.3%) were male with an average age of 72.14 years (SD = 9. 46). At post-intervention, the experimental group had significantly better clinical control than before receiving the program (p < .05) and better than the control group (p < .05). Conclusion and recommendations: The finding of this study confirms the effects of education, motivation, and inhaler skills program through line application to increase clinical control in patients with COPD. Nurses should use this program to promote accuracy in using inhaler medication and to provide knowledge in self-care for control of COPD in clinical practice, particularly during the scheduled appointment.en_US
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 40, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มี.ค. 2565), 112-127en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/64413
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังen_US
dc.subjectการควบคุมทางคลินิกen_US
dc.subjectการให้ความรู้en_US
dc.subjectการฝึกทักษะการใช้ยาสูดen_US
dc.subjectแอปพลิเคชันไลน์en_US
dc.subjectchronic obstructive pulmonary diseaseen_US
dc.subjectclinical control, educationen_US
dc.subjectinhaler skillsen_US
dc.subjectline applicationen_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.subjectNursing Science Journal of Thailanden_US
dc.titleผลของโปรแกรมการให้ความรู้ เสริมสร้างแรงจูงใจ และฝึกทักษะการใช้ยาสูดโดยใช้แอปพลิเคชันไลน์ต่อการควบคุมทางคลินิกในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังen_US
dc.title.alternativeThe Effects of Education, Motivation, and Inhaler Skills Program through Line Application on Clinical Control in Patients with Chronic Obstructive Pulmonary Diseaseen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/243509

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-doungrut-2565.pdf
Size:
1.59 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections