Publication:
การพัฒนาโปรแกรมสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันควบคุมโรคกลุ่่มบุคลากรสาธารณสุข

dc.contributor.authorขวัญเมือง แก้วดำเกิงen_US
dc.contributor.authorนิรันตา ไชยพานen_US
dc.contributor.authorสุจิตรา บุญกล้าen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์en_US
dc.contributor.otherกรมควบคุมโรค. สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพen_US
dc.date.accessioned2022-07-23T09:57:29Z
dc.date.available2022-07-23T09:57:29Z
dc.date.created2565-07-23
dc.date.issued2564
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินโปรแกรมสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในการป้องกันควบคุมโรคกลุ่มบุคลากรสาธารณสุข ใช้รูปแบบการวิจัยผสมผสาน (mixed methods research) การ วิจัย แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่หนึ่ง พัฒนาโปรแกรมฯ ได้แก่ (1) ศึกษาทบทวนโปรแกรมสร้างเสริมฯ (2) สร้าง กรอบแนวคิด และ (3) ออกแบบกระบวนการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานสถาบันการศึกษา และ สมาคมวิชาชีพ คัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบแสดงความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ ระยะที่สอง ประเมินโปรแกรมฯ ได้แก่ (1) ประเมินความสอดคล้อง และ (2) ทดสอบการจัดกิจกรรม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ (1) บุคลากรสาธารณสุข เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม และคู่มือการจัดโปรแกรมฯ (2) วิทยากรกระบวนการ เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แนวทางการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างและความตรงเชิงเนื้อหาของโปรแกรม ซึ่งประกอบด้วย 6 กิจกรรม พบว่า มีความสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ มีค่า IOC เท่ากับ 0.81 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างบุคลากรสาธารณสุขที่ตอบกลับร้อยละ 75.3 จำนวน 41 คน ปฏิบัติงานในสำนักงานป้องกันควบคุม โรค (สคร.) ร้อยละ 61 และสำนัก/กอง ของกรมควบคุมโรค ร้อยละ 39 อายุงานเฉลี่ย12 ปี ผลการวิเคราะห์ข้อมูล กลุ่มตัวอย่างประเมินความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์ รูปแบบการจัดกิจกรรม กลวิธีที่ใช้ สื่อและอุปกรณ์ ระยะเวลา ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม และวิธีประเมินผลในรายกิจกรรม พบว่า มีความสอดคล้องกันเป็นส่วนใหญ่ โดยปรับปรุงโปรแกรมตามข้อเสนอแนะของวิทยากรกระบวนการ สำหรับการวิจัยในระยะต่อไปสามารถพัฒนาต่อ ยอดในการวิจัยกลวิธีและผลของการเพิ่มทักษะรอบด้านและเฉพาะด้านen_US
dc.description.abstractThis study aims to develop and evaluate the program of health literacy on disease prevention and control in health professionals. The mixed methods research was divided into 2 phases: phase 1-development of the health literacy program; including (1) literature review HL program (2) set of the conceptual framework and (3) process design. Samples were 5 executive experts, purposely selected from public organizations, university, and professional association. Data were collected by a questionnaire of expert’s opinion. Phase 2- program evaluation; including (1) program evaluation and (2) program try out. Sample were public health officers, and 5 facilitators. The research tool comprised of: (1) a questionnaire; (2) a handbook of operational training program; and (3) a focus groups guideline of facilitators. Quantitative data were analyzed by using descriptive statistics; frequency, percentage, mean; and qualitative data were analyzed by using content analysis. The results found that the experts strongly agree with all Items; including 6 activities, and program objectives were mostly congruence. (IOC=0.81) The data analysis of 41 (response 75.3%) health professionals who work in the Office of Disease Prevention and Control, 61% work in central and 39% work in department of disease control. Average of working years was 12 years. The sample agree that the objectives, activities, methods, instruction media, period, procedure, and evaluation methods of each session were mostly congruence. A follow-up also improves the program on suggestion of facilitators, and the future research could focus on methods and results of related skills improvement both overall and specifically.en_US
dc.identifier.citationวารสารสุขศึกษา. ปีที่ 44, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2564), 187-201en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72233
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการพัฒนาโปรแกรมen_US
dc.subjectความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันควบคุมโรคen_US
dc.subjectบุคลากรสาธารณสุขen_US
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันควบคุมโรคกลุ่่มบุคลากรสาธารณสุขen_US
dc.title.alternativeA Program Development of Promoting Health Literacy on Disease Prevention and Control in Public Health Officersen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he01.tci-thaijo.org/index.php/muhed/article/view/254050

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-kwanmuan-2564.pdf
Size:
385.25 KB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections