Publication:
การรับรู้ความสามารถของตนเอง และรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนต่ำและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปกติ

dc.contributor.authorชนารัตน์ วรรณประเสริฐen_US
dc.contributor.authorสุพร อภินันทเวชen_US
dc.contributor.authorพัชรินทร์ เสรีen_US
dc.contributor.authorChanarat Wannapraserten_US
dc.contributor.authorSuporn Apinuntavechen_US
dc.contributor.authorPatcharin Sereeen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ภาควิชาจิตเวชศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัวen_US
dc.date.accessioned2021-09-28T07:43:18Z
dc.date.available2021-09-28T07:43:18Z
dc.date.created2564-09-28
dc.date.issued2561
dc.description.abstractการรับรู้ความสามารถของตนเองและรูปแบบ การอบรมเลี้ยงดูมีความสำคัญต่อการเรียนของนักเรียน งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยดังกล่าว ในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 274 คน จากการสุ่มแบบ แบ่งชั้น และสุ่มอย่างง่ายในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ สุขภาพจิตโรงเรียน จำนวน 3 แห่ง ได้นักเรียน 2 กลุม่ ทีม่ ผี ลการเรยี นปกติ และผลการเรียนต่ำโดยใช้ แบบสำรวจการรับรู้ความสามารถของตนเองด้าน การเรียนและแบบสำรวจรูปแบบการอบรมเลี้ยงดู วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และ Independent Sample T-test ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ความสามารถของ ตนเองด้านการเรียนมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 รูปแบบการอบรมเลี้ยงดูแบบทอดทิ้ง มีความสัมพันธ์ ทางลบกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนรูปแบบการอบรมเลี้ยงดู อีก 3 รูปแบบไม่มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียน การรับรู้ความสามารถของตนเองด้าน การเรียนและรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูแบบทอดทิ้ง ของทั้ง 2 กลุ่มแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ดังนั้นผู้ที่มีส่วนดูแลเด็กสามารถนำผล การวิจัยไปจัดกิจกรรมในการเพิ่มการรับรู้ความสามารถ ของตนเองนำไปสู่การเรียนรู้ที่ดีและมีประสิทธิภาพ ของเด็กต่อไปen_US
dc.description.abstractSelf-efficacy and parenting styles are important for student’s learning. The objective was to study the effects of self-efficacy and parenting styles upon grade 4-6 students. The sample group consisted of 274 students obtained by stratified and simple random sampling who participated in the School Mental Health Project from 3 schools in Bangkok. Participants were divided in 2 groups: students with low academic achievement and those with average academic achievement. The assessments included Academic Selfefficacy Questionnaire and Parenting Style Questionnaire. The results were analyzed using descriptive statistics, Pearson’s Correlation Coefficient and Independent sample T-test. A significant correlation was found between academic self-efficacy and academic achievement at p = 0.01. Neglectful parenting style had a significantly negative correlationship with academic achievement at p = 0.01. On the other hand, authoritative, authoritarian and permissive parenting styles had no correlation with academic achievements. A significant difference was found regarding academic self-efficacy and neglectful parenting style between students who had low academic achievement and those with average academic achievement at p = 0.01. This study suggested that the main caretakers of children should apply these results in creating self-efficacy activities that would help students to learn better and more effectively.en_US
dc.identifier.citationวารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 48, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561), 332-343en_US
dc.identifier.issn2697-584X (Print)
dc.identifier.issn2697-5866 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63716
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็ก และครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการรับรู้ความสามารถของตนเองen_US
dc.subjectการรับรู้ความสามารถของตนเองด้านการเรียนen_US
dc.subjectรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen_US
dc.subjectself-efficacyen_US
dc.subjectacademic self-efficacyen_US
dc.subjectparenting styleen_US
dc.subjectacademic achievementen_US
dc.titleการรับรู้ความสามารถของตนเอง และรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนต่ำและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปกติen_US
dc.title.alternativeEffects of Self-efficacy and Parenting Styles upon Grade 4-6 Students with Low and Average Academic Achievementen_US
dc.typeOriginal Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/jph/article/view/109168/118442en_US

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
si-ar- suporn-2561.pdf
Size:
3.21 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections