Publication: Factors Predicting Health-Related Quality of Life in Patients with Type 2 Diabetes in Myanmar
Issued Date
2018
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
Journal of Nursing Science. Vol. 36, No. 4 (Oct - Dec 2018), 18-27
Suggested Citation
Mi Khaing Yin Mon, Aurawamon Sriyuktasuth, Chongjit Saneha, อรวมน ศรียุกตศุทธ, จงจิต เสน่หา Factors Predicting Health-Related Quality of Life in Patients with Type 2 Diabetes in Myanmar. Journal of Nursing Science. Vol. 36, No. 4 (Oct - Dec 2018), 18-27. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48022
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors Predicting Health-Related Quality of Life in Patients with Type 2 Diabetes in Myanmar
Alternative Title(s)
ปัจจัยทํานายคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในประเทศเมียนมา
Other Contributor(s)
Abstract
Purpose: To investigate the predictive power of gender, type of treatment, comorbidity, and social support on health-related quality of life in patients with type 2 diabetes in Myanmar.Design: Correlational predictive study.Methods: A total of 100 patients with type 2 diabetes diagnosed for at least six months and came to follow-up at the Diabetes Clinic, Yangon General Hospital, Myanmar were recruited in the study. The research instruments included demographic data form, the WHO’s Quality of Life Brief questionnaire (WHOQoL-BREF), the Social-Support Questionnaire, and the Charlson Comorbidity Index (CCI). Data were analyzed with descriptive statistics and multiple regression analysis. Main findings: The findings showed that the participants mean age was 52.82 years (SD = 11.86). Overall, the participants had mild comorbidity (X = 1.45, SD = 1.04) and perceived moderate levels of social support (X = 19.31, SD = 5.26) and health-related quality of life (X = 77.92, SD = 11.40). In multiple regression analysis, gender, type of treatment, comorbidity, and social support jointly accounted for 16.2% of the variance in overall health-related quality of life (R2 = .162, F(4,95) = 4.593, p < .001). Social support was the most important predictor of health-related quality of life (β = .298, p = .002), followed by female gender (β = -.211, p = .029).Conclusion and recommendations: Worsen quality of life among type 2 diabetes patients in Myanmar could be predicted by low social support and female gender. Nurses and health care personnel should assess the patients’ needs for support in order to provide them supportive services during clinic visits. It is also important to pay attention to services provided to women with diabetes to optimize their quality of life.
วัตถุประสงค์:เพื่อศึกษาอํานาจการทํานายของตัวแปรเพศชนิดการรักษา โรคร่วม และการสนับสนุนทางสังคมต่อคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในประเทศเมียนมาร์รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทํานายวิธีดําเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหวานชนิดที่ 2 จํานวน 100 ราย ที่ได้รับการวินิจฉัยมาแล้วอย่างน้อย6 เดือน และมาติดตามการรักษาที่คลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลย่างกุ้ง ประเทศเมียนมาร์ เครื่องมือวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามคุณภาพชีวิต แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคม และแบบประเมินภาวะโรคร่วม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณา และสถิติถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 52.82 ปี (SD = 11.86) โดยรวมมีภาวะโรคร่วมในระดับน้อย (X = 1.45,SD = 1.04) มีการรับรู้การสนับสนุนทางสังคม (X = 19.31, SD = 5.26) และคุณภาพชีวิตในระดับปานกลาง(X = 77.92, SD = 11.40) ตัวแปรอิสระทุกตัวสามารถร่วมกันทํานายคุณภาพชีวิตได้ร้อยละ 16.2 (R2 = .162, F(4,95) = 4.593, p < .001) โดยการสนับสนุนทางสังคมเป็นปัจจัยทํานายคุณภาพชีวิตที่สําคัญที่สุด (β = .298, p = .002) รองลงมา คือ เพศหญิง (β = -.211, p = .029) สรุปและข้อเสนอแนะ:คุณภาพชีวิตที่แย่ลงของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในประเทศเมียนมาร์สามารถทํานายได้จากการสนับสนุนทางสังคมที่ต่ำ และเป็นผู้ป่วยเพศหญิง พยาบาลและบุคลากรสุขภาพควรประเมินความต้องการการสนับสนุนทางสังคมของผู้ป่วย และให้การบริการที่สนับสนุนความต้องการ โดยเฉพาะในผู้ป่วยเพศหญิง เพื่อเพิ่มระดับคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพให้แก่ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
วัตถุประสงค์:เพื่อศึกษาอํานาจการทํานายของตัวแปรเพศชนิดการรักษา โรคร่วม และการสนับสนุนทางสังคมต่อคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในประเทศเมียนมาร์รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทํานายวิธีดําเนินการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคหวานชนิดที่ 2 จํานวน 100 ราย ที่ได้รับการวินิจฉัยมาแล้วอย่างน้อย6 เดือน และมาติดตามการรักษาที่คลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลย่างกุ้ง ประเทศเมียนมาร์ เครื่องมือวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามคุณภาพชีวิต แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคม และแบบประเมินภาวะโรคร่วม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณา และสถิติถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 52.82 ปี (SD = 11.86) โดยรวมมีภาวะโรคร่วมในระดับน้อย (X = 1.45,SD = 1.04) มีการรับรู้การสนับสนุนทางสังคม (X = 19.31, SD = 5.26) และคุณภาพชีวิตในระดับปานกลาง(X = 77.92, SD = 11.40) ตัวแปรอิสระทุกตัวสามารถร่วมกันทํานายคุณภาพชีวิตได้ร้อยละ 16.2 (R2 = .162, F(4,95) = 4.593, p < .001) โดยการสนับสนุนทางสังคมเป็นปัจจัยทํานายคุณภาพชีวิตที่สําคัญที่สุด (β = .298, p = .002) รองลงมา คือ เพศหญิง (β = -.211, p = .029) สรุปและข้อเสนอแนะ:คุณภาพชีวิตที่แย่ลงของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในประเทศเมียนมาร์สามารถทํานายได้จากการสนับสนุนทางสังคมที่ต่ำ และเป็นผู้ป่วยเพศหญิง พยาบาลและบุคลากรสุขภาพควรประเมินความต้องการการสนับสนุนทางสังคมของผู้ป่วย และให้การบริการที่สนับสนุนความต้องการ โดยเฉพาะในผู้ป่วยเพศหญิง เพื่อเพิ่มระดับคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพให้แก่ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2