Publication: Job stress, work characteristics and social support among nurses working at port moresby general hospital , Papua New Guinea
Submitted Date
2009-05
Accepted Date
2010-03-15
Issued Date
2009
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.8, No.1, (2010), 21 - 32
Suggested Citation
Nad P, Ramasoota P, พันธ์ทิพย์ รามสูต, Chompikul J, จิราพร ชมพิกุล Job stress, work characteristics and social support among nurses working at port moresby general hospital , Papua New Guinea. Journal of Public Health and Development. Vol.8, No.1, (2010), 21 - 32. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1621
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Job stress, work characteristics and social support among nurses working at port moresby general hospital , Papua New Guinea
Alternative Title(s)
ความเครียดในงาน ลักษณะงานและการสนับสนุนทางสังคมของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป พร์ต มอร์สบี้ ปาปัวนิวกีนี
Corresponding Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
A cross-sectional descriptive study was conducted among Papua New
Guinean nurses working at Port Moresby General Hospital in National
Capital District, Papua New Guinea with the aim to describe the pattern of
job stress (acute & chronic level) and its severity at mild, moderate and
severe levels respectively as well as work characteristics and social
support. A total of 161 self administered questionnaires were obtained
from the nurses during the month of January 2009. Descriptive statistics
was employed to describe the independent variables and the outcome
under study.
Most of the nurses were married and had three to five children, earned
between 69 to 274 US dollars and lived in places easily accessible by
hospital transport services. Half of them experienced acute and chronic
stress at moderate levels. Social support (rendered by three support
persons namely the nursing supervisor, family and colleagues) revealed
moderate support for the nurses provided by the family, spouse and friends.
The family, relatives and friends made work life easier for the nurse
and were the easiest support persons to talk to. The nursing supervisors
were the ones they could rely upon when the job got tough meanwhile
the family were always available to listen to the nurse’s personal
problems. When considering work characteristics, the majority (67.3%)
were registered nursing officers. Mean number of years of working
experience in the hospital was 17 years which ranged between 1 to 40
years. Most of them were permanent staff on government payroll and
worked with the 8-hour shift of working schedule. Working hours per week
for the nurses ranged from 40 to 59 hours. Job satisfaction and conflict at
work revealed degree of moderate levels.
Policy makers and hospital managers, therefore, must consider
the priority of stress reduction programs and facilitate its introduction
into nursing colleges in order to prepare nurses to be ready and capable
to work and cope with a complex and demanding work environment
where job stress is imminent.
การศึกษาเชิงพรรณนาในกลุ่มพยาบาลโรงพยาบาลพอร์ต มอร์สบี้ ปาปัว นิว กินี มีวัตถุประสงค์เพื่อพรรณนาแบบแผนความเครียดในงาน ตามระยะเฉียบพลันหรือเรื้อรัง และระดับความรุนแรง (น้อย ปานกลาง สูง)รวมทั้งศึกษาลักษณะงานและการสนับสนุนทางสังคม โดยให้พยาบาล 161 คน ตอบแบบสอบถามด้วยตนเองในช่วงเดือนมกราคม 2552 การศึกษานี้ใช้สถิติพรรณนาเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล พยาบาลส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรสจำนวน บุตรเฉลี่ย 3-5 คน มีรายได้ ระหว่าง 69 - 274 เหรียญสหรัฐ และมีที่พักอาศัยใกล้บริการขนส่งของโรงพยาบาล พยาบาลประมาณครึ่งหนึ่งมีประสบการณ์ความเครียดทั้งระยะเฉียบพลัน และเรื้อรังในระดับความรุนแรงปานกลาง พยาบาลได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวคู่ครองและเพื่อนอยู่ในระดับปานกลาง โดยกลุ่มนี้เป็นบุคคลที่ทำให้ชีวิตงานของพยาบาลง่ายขึ้น และเป็นบุคคลที่เขาสามารถพูดจาด้วย ส่วนหัวหน้าพยาบาลเป็นบุคคลที่พยาบาลสามารถพึ่งพาได้เวลาที่มีปัญหาเรื่องงาน ในขณะที่ครอบครัวเป็นที่พึ่งด้านปัญหาส่วนตัวได้ตลอดเวลา ด้านลักษณะงาน พบว่าส่วนใหญ่ (67.3 %)เป็นพยาบาลวิชาชีพมากกว่าพยาบาลประเภทอื่นๆ อายุเฉลี่ยของการทำงาน 17 ปี โดยมีอายุงานต่ำสุด 1 ปี ถึงสูงสุด 40 ปี ส่วนใหญ่เป็นข้าราชการประจำ และทำงานผลัดละ 8 ชั่วโมง จำนวนชั่วโมงที่พยาบาลทำงานมีพิสัยระหว่าง 40 - 59 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ มีความพึงพอใจในงานและความขัดแย้งในงานใน ระดับปานกลาง ผู้กำหนดนโยบายและผู้บริหารโรงพยาบาล ควรให้ความสำคัญต่อโครงการลดความเครียด โดยเริ่มต้นแต่ในโรงเรียนพยาบาล เพื่อเตรียมตัวพยาบาลให้ สามารถจัดการกับความเครียดและทำงานได้ในสิ่งแวดล้อมที่ยุ่งยาก และภาระงานที่หนักซึ่งเป็นบ่อเกิดขอความเครียด
การศึกษาเชิงพรรณนาในกลุ่มพยาบาลโรงพยาบาลพอร์ต มอร์สบี้ ปาปัว นิว กินี มีวัตถุประสงค์เพื่อพรรณนาแบบแผนความเครียดในงาน ตามระยะเฉียบพลันหรือเรื้อรัง และระดับความรุนแรง (น้อย ปานกลาง สูง)รวมทั้งศึกษาลักษณะงานและการสนับสนุนทางสังคม โดยให้พยาบาล 161 คน ตอบแบบสอบถามด้วยตนเองในช่วงเดือนมกราคม 2552 การศึกษานี้ใช้สถิติพรรณนาเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล พยาบาลส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรสจำนวน บุตรเฉลี่ย 3-5 คน มีรายได้ ระหว่าง 69 - 274 เหรียญสหรัฐ และมีที่พักอาศัยใกล้บริการขนส่งของโรงพยาบาล พยาบาลประมาณครึ่งหนึ่งมีประสบการณ์ความเครียดทั้งระยะเฉียบพลัน และเรื้อรังในระดับความรุนแรงปานกลาง พยาบาลได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวคู่ครองและเพื่อนอยู่ในระดับปานกลาง โดยกลุ่มนี้เป็นบุคคลที่ทำให้ชีวิตงานของพยาบาลง่ายขึ้น และเป็นบุคคลที่เขาสามารถพูดจาด้วย ส่วนหัวหน้าพยาบาลเป็นบุคคลที่พยาบาลสามารถพึ่งพาได้เวลาที่มีปัญหาเรื่องงาน ในขณะที่ครอบครัวเป็นที่พึ่งด้านปัญหาส่วนตัวได้ตลอดเวลา ด้านลักษณะงาน พบว่าส่วนใหญ่ (67.3 %)เป็นพยาบาลวิชาชีพมากกว่าพยาบาลประเภทอื่นๆ อายุเฉลี่ยของการทำงาน 17 ปี โดยมีอายุงานต่ำสุด 1 ปี ถึงสูงสุด 40 ปี ส่วนใหญ่เป็นข้าราชการประจำ และทำงานผลัดละ 8 ชั่วโมง จำนวนชั่วโมงที่พยาบาลทำงานมีพิสัยระหว่าง 40 - 59 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ มีความพึงพอใจในงานและความขัดแย้งในงานใน ระดับปานกลาง ผู้กำหนดนโยบายและผู้บริหารโรงพยาบาล ควรให้ความสำคัญต่อโครงการลดความเครียด โดยเริ่มต้นแต่ในโรงเรียนพยาบาล เพื่อเตรียมตัวพยาบาลให้ สามารถจัดการกับความเครียดและทำงานได้ในสิ่งแวดล้อมที่ยุ่งยาก และภาระงานที่หนักซึ่งเป็นบ่อเกิดขอความเครียด