Publication: Factors Associated with Contraceptive Practice among Hmong Hill Tribe Women in Nan Province
Issued Date
2016
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 39, No. 3 (Jul-Sep 2016), 179-186
Suggested Citation
Punpaporn Srirai, Somsak Suthutvoravut, พรรณปพร ศรีหร่าย, สมศักดิ์ สุทัศน์วรวุฒิ Factors Associated with Contraceptive Practice among Hmong Hill Tribe Women in Nan Province. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 39, No. 3 (Jul-Sep 2016), 179-186. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79608
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors Associated with Contraceptive Practice among Hmong Hill Tribe Women in Nan Province
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคุมกำเนิดของสตรีไทยภูเขาเผ่าม้งในเขตพื้นที่จังหวัดน่าน
Abstract
Background: Hill tribe women in Thailand still have high crude birth rate with low rate of contraceptive use. This leads to poor quality of life and poor societal development.
Objective: To study the rate and factors associated with contraceptive practice among Hmong hill tribe women in Nan Province, Thailand.
Methods: This research is a cross sectional survey study. Data was collected by self-administered questionnaire from 284 married Hmong hill tribe women aged 15-44 years old.
Results: We noted 56% of the Hmong hill tribe women of reproductive age used contraceptives; 41.6% used modern methods, while 14.4% used traditional methods. By univariate analysis, the factors significantly associated with contraceptive practice included age, income, easy accessibility to the contraceptive services, cheap contraceptive service, receiving advice from health personnel, satisfaction of contraceptive services, ever attended education class of contraception and ability to advice other people about contraception. When multiple logistic regression analysis was applied, age, easy accessibility to the contraceptive services and satisfaction with contraceptive services were independently associated with contraceptive use.
Conclusions: Rate of contraceptive practice among Hmong hill tribe women of reproductive age in Nan Province was still low and significantly associated with accessibility, understanding and attitude toward contraception and satisfaction with service which enable them to advise others people about contraception. Thus, contraceptive service should be actively improved and developed which included education and promotion of knowledge of contraception to the Hmong Hill tribe women.
ความเป็นมา: ชาวไทยภูเขาในประเทศไทยดังเช่น เผ่าม้ง ยังคงมีปัญหาอัตราการเกิดสูงและอัตราการคุมกำเนิดต่ำ ส่งผลให้คุณภาพชีวิตประชากรและการพัฒนาสังคมโดยรวมอยู่ในระดับต่ำ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอัตราการคุมกำเนิดและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคุมกำเนิดในสตรีชาวไทภูเขาเผ่าม้ง ในตำบลป่ากลาง อำเภอปัว จังหวัดน่าน วิธีวิจัย: การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยชนิดภาคตัดขวาง กลุ่มเป้าหมาย คือสตรีชาวไทยภูเขาเผ่าม้งที่สมรสแล้ว อายุ 15 - 44 ปี อาศัยอยู่ ในตำบลป่ากลาง อำเภอปัว จังหวัดน่าน จำนวน 284 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ผลการศึกษา: สตรีวัยเจริญพันธุ์ชาวไทยภูเขามีอัตราคุมกำเนิดเพียงร้อยละ 56 แบ่งเป็นการคุมกำเนิดด้วยวิธีทันสมัย ร้อยละ 41.6 และคุมกำเนิดด้วยวิธีชาวบ้าน ร้อยละ 14.4 เมื่อวิเคราะห์ปัจจัยเดี่ยวพบว่า มีปัจจัยที่สัมพันธ์กับการคุมกำเนิดของสตรีชาวไทยภูเขาเผ่าม้ง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ อายุ รายได้ ความสะดวกในการเข้าถึงบริการค่าใช้จ่ายในการคุมกำเนิด การได้รับคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ ความพุงพอใจและการเข้าร่วมอบรม เรื่องการคุมกำเนิด เมื่อวิเคาะห์โดยใช้สมการถดถอยโลจิสติกพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคุมกำเนิดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ อายุที่เพิ่มมากขึ้น สตรีที่อายุเท่ากับหรือมากกว่า 35 ปี จะคุมกำเนิดน้อยลง ปัจจัยด้านความสะดวกในการเข้าถึงบริการและความพึงพอใจในการรับบริการ สรุป: อัตราการคุมกำเนิดที่พบในสตรีวัยเจริญพันธ์ุชาวไทยภูเขาในจังหวัดน่าน ยังคงต่ำอยู่และพบว่า มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับปัจจัยด้านความพึงพอใจในการรับบริการ และความสะดวกในการเข้าถึงบริการ ความเข้าใจและทัศนคติต่อการคุมกำเนิด ซึ่งอาจทำให้สตรีชาวมังสามารถแนะนำผู้อื่นในการคุมกำเนิดได้ จึงควรมีการพัฒนาและปรับปรุงระบบบริการเชิงรุก รวมทั้งการให้การศึกษา และความรู้ความเข้าใจแก่สตรีชาวไทยภูเขาให้เพิ่มมากขึ้น
ความเป็นมา: ชาวไทยภูเขาในประเทศไทยดังเช่น เผ่าม้ง ยังคงมีปัญหาอัตราการเกิดสูงและอัตราการคุมกำเนิดต่ำ ส่งผลให้คุณภาพชีวิตประชากรและการพัฒนาสังคมโดยรวมอยู่ในระดับต่ำ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอัตราการคุมกำเนิดและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคุมกำเนิดในสตรีชาวไทภูเขาเผ่าม้ง ในตำบลป่ากลาง อำเภอปัว จังหวัดน่าน วิธีวิจัย: การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยชนิดภาคตัดขวาง กลุ่มเป้าหมาย คือสตรีชาวไทยภูเขาเผ่าม้งที่สมรสแล้ว อายุ 15 - 44 ปี อาศัยอยู่ ในตำบลป่ากลาง อำเภอปัว จังหวัดน่าน จำนวน 284 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ผลการศึกษา: สตรีวัยเจริญพันธุ์ชาวไทยภูเขามีอัตราคุมกำเนิดเพียงร้อยละ 56 แบ่งเป็นการคุมกำเนิดด้วยวิธีทันสมัย ร้อยละ 41.6 และคุมกำเนิดด้วยวิธีชาวบ้าน ร้อยละ 14.4 เมื่อวิเคราะห์ปัจจัยเดี่ยวพบว่า มีปัจจัยที่สัมพันธ์กับการคุมกำเนิดของสตรีชาวไทยภูเขาเผ่าม้ง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ อายุ รายได้ ความสะดวกในการเข้าถึงบริการค่าใช้จ่ายในการคุมกำเนิด การได้รับคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ ความพุงพอใจและการเข้าร่วมอบรม เรื่องการคุมกำเนิด เมื่อวิเคาะห์โดยใช้สมการถดถอยโลจิสติกพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคุมกำเนิดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ อายุที่เพิ่มมากขึ้น สตรีที่อายุเท่ากับหรือมากกว่า 35 ปี จะคุมกำเนิดน้อยลง ปัจจัยด้านความสะดวกในการเข้าถึงบริการและความพึงพอใจในการรับบริการ สรุป: อัตราการคุมกำเนิดที่พบในสตรีวัยเจริญพันธ์ุชาวไทยภูเขาในจังหวัดน่าน ยังคงต่ำอยู่และพบว่า มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับปัจจัยด้านความพึงพอใจในการรับบริการ และความสะดวกในการเข้าถึงบริการ ความเข้าใจและทัศนคติต่อการคุมกำเนิด ซึ่งอาจทำให้สตรีชาวมังสามารถแนะนำผู้อื่นในการคุมกำเนิดได้ จึงควรมีการพัฒนาและปรับปรุงระบบบริการเชิงรุก รวมทั้งการให้การศึกษา และความรู้ความเข้าใจแก่สตรีชาวไทยภูเขาให้เพิ่มมากขึ้น