Publication: Comparison of Knowledge, Attitude, and Behavior of Reproductive Health Between Thai and Immigrant Women Workers in Factories in Samut Sakhon, Thailand
dc.contributor.author | รัตนาภรณ์ คําทะเนตร | en_US |
dc.contributor.author | สมศักดิ์ สุทัศน์วรวุฒิ | en_US |
dc.contributor.author | Rattanaporn Khamthanet | en_US |
dc.contributor.author | Somsak Suthutvoravut | en_US |
dc.contributor.other | Siam University. Faculty of Nursing | en_US |
dc.contributor.other | Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Obstetrics and Gynecology | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-22T05:17:18Z | |
dc.date.available | 2022-07-22T05:17:18Z | |
dc.date.created | 2022-07-22 | |
dc.date.issued | 2020 | |
dc.description.abstract | Background: Immigration of women workers from neighboring countries into Thailand to work in factories, usually have poor knowledge, attitude, and misbehavior on reproductive health. This can cause problems of reproductive health in Thai society. Objective: To compare the knowledge, attitude, and behavior of reproductive health between Thai and immigrant women workers. Methods: This analytic study compared 107 Thai and 107 immigrant workers in factories in Samut Sakhon, Thailand. All participants were recruited by purposive sampling. Data was collected by self-administered questionnaires which included personal characteristics, knowledge, attitude, and behavior related to reproductive health. Statistical tests were performed to analyze association between variables. Results: Thai workers were older than immigrant workers (31.3 ± 9.5 years vs 25.3 ± 5.1 years; P < .05) and more marriage (84.1% vs 72.0%; P < .05). Compare with immigrant workers, Thai women workers had finished secondary school or lower (51.4% vs 36.4%; P < .05), earned more than ฿15 000 per month (38.3% vs 3.7%; P < .05), owned their own house (15.0% vs 0%; P < .05), paid for their own healthcare (23.4% vs 11.2%; P < .05), and used private hospitals for healthcare services (40.2% vs 17.8%; P < .05). Thai workers had significantly better levels of knowledge and attitude (P < .001). However, immigrant workers were found to have better levels of reproductive health behavior (70.1% vs 68.2%), especially in terms of the number of sexual partners, and a good level of pregnancy-related reproductive behavior (97.4% vs 84.3%), particularly in the practice of exclusive breastfeeding for 6 months or more. Conclusions: Thai workers had more knowledge, attitude, and behavior of reproductive health than immigrant workers, despite their better attitude and behavior in terms of the number of sexual partners and the practice of exclusive breastfeeding 6 months or more. | en_US |
dc.description.abstract | บทคัดย่อ: แรงงานสตรีข้ามชาติจากประเทศเพื่อนบ้านที่อพยพเข้ามาทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศไทย โดยทั่วไปมักจะมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมด้านอนามัยเจริญพันธุ์ที่ไม่เหมาะสม ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาในสังคมไทย วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมสุขภาพด้านอนามัยเจริญพันธุ์ระหว่างแรงงานสตรีไทยและแรงงานสตรีข้ามชาติ วิธีการศึกษา: การศึกษาเชิงวิเคราะห์ในกลุ่มตัวอย่างแรงงานสตรีไทย จำนวน 107 คน และแรงงานสตรีข้ามชาติ จำนวน 107 คน ในโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดสมุทรสาคร ประเทศไทย โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคล ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับอนามัยเจริญพันธุ์ จากนั้นใช้สถิติความสัมพันธ์ของตัวแปร ผลการศึกษา: แรงงานสตรีไทยมีอายุมากกว่าแรงงานสตรีข้ามชาติ (31.3 ± 9.5 ปี เทียบกับ 25.3 ± 5.1 ปี; P < .05) แรงงานสตรีไทยแต่งงานมากกว่าเมื่อเทียบกับแรงงานสตรีข้ามชาติ (84.1% เทียบกับ 72.0%; P < .05) มีระดับการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาหรือน้อยว่า (51.4% เทียบกับ 36.4%; P < .05) มีรายได้มากกว่า 15,000 บาทต่อเดือน (38.3% เทียบกับ 3.7%; P < .05) มีบ้านเป็นของตัวเอง (15.0% เทียบกับ 0%; P < .05) จ่ายค่ารักษาพยาบาลเอง (23.4% เทียบกับ 11.2%; P < .05) และเข้ารับบริการจากโรงพยาบาลเอกชน (40.2% เทียบกับ 17.8%; P < .05) แรงงานสตรีไทยมีความรู้และทัศนคติที่ดีมากกว่าแรงงานสตรีข้ามชาติ (P < .05) อย่างไรก็ตาม แรงงานสตรีข้ามชาติมีพฤติกรรมด้านอนามัยเจริญพันธุ์ดีกว่า (70.1% เทียบกับ 68.2%) ในแง่ของจำนวนคู่นอนและพฤติกรรมขณะตั้งครรภ์ (97.4% เทียบกับ 84.3%) โดยเฉพาะด้านการเลี้ยงดูลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวมากกว่าหรือเท่ากับ 6 เดือน สรุป: แรงงานสตรีไทยมีความรู้และทัศนคติด้านอนามัยเจริญพันธุ์ดีกว่าแรงงานสตรีข้ามชาติ แม้ว่าแรงงานสตรีข้ามชาติมีทัศนคติและพฤติกรรมดีกว่าในด้านจำนวนคู่นอนและการเลี้ยงดูลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวมากกว่าหรือเท่ากับ 6 เดือน | en_US |
dc.identifier.citation | Ramathibodi Medical Journal. Vol. 43, No. 1 (January-March 2020), 24-34 | en_US |
dc.identifier.issn | 0125-3611 (Print) | |
dc.identifier.issn | 2651-0561 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72226 | |
dc.language.iso | eng | en_US |
dc.rights | Mahidol University | en_US |
dc.rights.holder | Faculty of Nursing Siam University | en_US |
dc.rights.holder | Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University | en_US |
dc.subject | Reproductive health | en_US |
dc.subject | Immigrant women worker | en_US |
dc.subject | สุขภาพอนามัยเจริญพันธุ์ | en_US |
dc.subject | แรงงานสตรีข้ามชาติ | en_US |
dc.title | Comparison of Knowledge, Attitude, and Behavior of Reproductive Health Between Thai and Immigrant Women Workers in Factories in Samut Sakhon, Thailand | en_US |
dc.title.alternative | การเปรียบเทียบความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมสุขภาพการเจริญพันธุ์ระหว่างแรงงานสตรีไทยและแรงงานสตรีข้ามชาติในโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดสมุทรสาคร ประเทศไทย | en_US |
dc.type | Original Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/article/view/238367/163997 |