Publication: โรคหัวใจที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Issued Date
2557
Resource Type
Language
tha
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 37, ฉบับที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2557), 229-231
Suggested Citation
โอบจุฬ ตราชู, Objoon Trachoo โรคหัวใจที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม. รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 37, ฉบับที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2557), 229-231. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79693
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
โรคหัวใจที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
ความเจ็บป่วยของโรคหัวใจและหลอดเลือดมีหลายชนิด ที่พบได้บ่อยในประชาชนทั่วไป ได้แก่ โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ เป็นต้น โดยโรคหัวใจที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมจะมีประวัติเฉพาะที่ต้องสงสัยดังนี้ 1) ครอบครัวมีสมาชิกในบ้านเป็นโรคหัวใจในบ้านแบบเดียวกันในทุกๆ รุ่น 2) สมาชิกในครอบครัวเกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหรือหัวใจล้มเหลวตั้งแต่อายุน้อย 3) สมาชิกในครอบครัวเสียชีวิตเฉียบพลันอย่างไม่ทราบสาเหตุ และ 4) สมาชิกในครอบครัวได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดชนิดจำเพาะ ดังนั้น การที่มีคนในครอบครัวเป็นโรคหัวใจที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ส่งผลถึงการดูแลสุขภาพของสมาชิกรายอื่นในครอบครัวด้วย โดยเฉพาะญาติสายตรง (บิดา มารดา บุตรธิดา พี่น้อง) แม้ว่าจะไม่มีอาการใดๆ แต่ต้องพิจารณาถึงปัจจัยเสี่ยงทางพันธุกรรมของตนเอง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหตุร้ายซ้ำขึ้นในครอบครัว การดูแลรักษาโรคหัวใจจากพันธุกรรม ผู้ป่วยจะต้องได้รับการประเมินความเสี่ยง หากเข้าข่ายเป็นโรคหัวใจที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมตั้งแต่ระยะเริ่มแรก แพทย์จะให้การรักษาด้วยยาหรือการใส่เครื่องมือพิเศษต่างๆ ซึ่งการดูแลที่เหมาะสมตั้งแต่ระยะเริ่มแรก จะช่วยป้องกันอาการรุนแรง และภาวะทุพพลภาพที่อาจเกิดขึ้นได้